วันพุธที่ 23 พฤษภาคม พ.ศ. 2561

การสะสมความทรงจำ พิพิธภัณฑ์ หอภาพยนตร์ แผนที่ สะสมสื่อสิ่งพิมพ์

การสะสมความทรงจำ พิพิธภัณฑ์ หอภาพยนตร์ แผนที่ สะสมสื่อสิ่งพิมพ์

1มิถุนา
การสะสมความทรงจำ หอภาพยนตร์ฯ(1)
ผมเปิดเรื่องเล่าอย่างกับหนังอาร์ต คือ เล่าเรื่องเกิดอารมณ์อยากปล่อยแมวดำ เนื่องจากแมวดำทำรางวัล ที่เป็นรูปร่างสเลทหัก โอ้! เมื่อวานเพิ่งส่งงานทั้งสารคดีและหนังสั้น แน่นอนว่าความทรงจำในรอบสัปดาห์ก่อนที่ผ่านมาเพื่อนให้ส่งหนังประกวดติดต่อคุยกับนศ.แล้ว ก็ปรากฏว่าหมดเขตการประกวดไปแล้ว ในความเงียบงัน อันต้องค้นหาความทรงจำกับหนังสั้นที่เคยส่งประกวดมูลนิธิหนังไทย จึงซื้อหนังสือที่เหมือนสูจิบัตรมาเก็บไว้ วันนั้นอยู่กทม.ไปต่อนครปฐม เพื่อดูหอภาพยนตร์ ตามรูปนั่นแหละครับ
ทั้งนี้ ผมไปได้ไอเดียที่1 ทำหนังสั้น ณ บ้านเกิดที่พิจิตร และผมกลับมาทบทวนไอเดียที่2 น่าเขียนเลียนแบบนักวิจารณ์หนังคนดังอายุน้อยกว่าผม เขาไม่ได้เรียนจบภาพยนตร์ คือ เพียงชายคนนี้เป็นอาจารย์พิเศษ(*) ผมติดตามอ่านงานเขียนเขามาบ้างด้านงานรีวิวหนัง ไม่รู้จักกันเป็นการส่วนตัวกับเขา เนื่องจากงานเขียนลีลาน่าสนใจ ไม่มีทฤษฎี หรือตีความ ที่มากล้นเกิน หรือกล่าวง่ายๆ บางงานเขียนลีลาเขียนแนวตลกบวกประเด็นมุมมองน่าสนใจอย่างหนังเรื่อง Paterson (**) แน่ละผมมีเพื่อนที่ไม่ได้เรียนจบฟิลม์หลายคนน่าสนใจด้วย แต่ผมสนใจคนนี้ในแง่อาจารย์พิเศษ ที่เขียนเม้าท์นักศึกษาในวิหัวข้อวิจารณ์หนัง และผมอยากเขียนแรงงานอาจารย์พิเศษไม่ได้เงินเยอะอะไร โดยใครสนใจหาจ็อบอาจารย์พิเศษด้านเกี่ยวกับภาพยนตร์ บ้างๆ ฮร่าๆ ดูพิเศษ
*เพียงชายคนนี้เป็นอาจารย์พิเศษ
http://www.goodreads.com/book/show/21567247
https://minimore.com/b/thank-you-teacher/2
**Paterson
ดั่งในใจความบอกในกวี
https://web.facebook.com/readgiraffe/posts/1293467084065033:0?_rdc=1&_rdr
-ภาพประกอบผมเอง
1.2
การสะสมความทรงจำ หอภาพยนตร์ฯ(จบ)
เมื่อผมไม่มีประเด็นจะเล่ามากมาย จากการสัมผัสหอภาพยนตร์ตามภาพอย่างกับภาพต่อเนื่องเลย อุปมาความทรงจำไม่ขาดหายไป
“…อุปมาว่าความต่อเนื่องกับการแทนที่นั้นบางกรณีอาจเป็นกระบวนการเดียวกันสนิท แยกไม่มีทางได้ ความต่างกลับอยู่ที่แง่มุมและวิธีการของตัวผู้ศึกษาเอง
“ผู้อ่านทุกท่านเคยดูภาพยนตร์จอใหญ่มาแล้วทั้งนั้น คงไม่มีใครเถียงว่าความเคลื่อนไหวบนจอภาพยนตร์มีลักษณะต่อเนื่องราบเรียบ แต่ผู้พอมีความรู้พื้น ๆ ย่อมรู้ดีว่าความต่อเนื่องบนจอนั้น แท้ที่จริงแล้วเป็นผลของการที่ภาพนิ่งในกรอบต่าง ๆ กันบนแผ่นฟิล์มภาพยนตร์เข้ามาแทนที่กรอบก่อนหน้าในอัตราเร็วเกินกว่าสายตามนุษย์จะจับการเข้าแทนที่นั้นได้
“คิดในทางกลับกัน การเคลื่อนไหวของเวลาซึ่งดูเหมือนต่อเนื่องราบเรียบไปเรื่อย ๆ ครั้นถูกบันทึกด้วยฟิล์มภาพยนตร์เพื่อจะนำกลับมา ‘ถ่ายทอด’ (represent) อีกทีในภายหลัง กลับต้องบันทึกด้วยการทำให้ความต่อเนื่องนั้นแตกออกเป็นภาพนิ่งจำนวนมากบนสายฟิล์มยาวเหยียด
“ความต่อเนื่องหรือการแทนที่ในเวลาต่อมาจึงมีอีกปัจจัยมาเกี่ยวข้อง ได้แก่ เครื่องฉายภาพยนตร์ หรือเครื่องมือที่มาทำหน้าที่ถ่ายทอดความสัมพันธ์ระหว่างความจริงต่าง ๆ กับการถ่ายทอดต่าง ๆ วิธี และเครื่อง/ผู้สังเกตการณ์หลายชนิด
“จากตัวอย่างนี้อาจจัดสัมมนาได้เต็มวัน ในที่นี้ผมต้องการชี้ให้เห็นประเด็นเดียวว่า (สิ่งที่เรียกว่า) การแทนที่และความต่อเนื่องบางทีเป็นเรื่องเดียวกันก็มี ถ้าคิดว่าอุปมานี้ไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกับกระบวนท่าการเปลี่ยนแปลงของประวัติศาสตร์เลย ก็ต้องขอให้คิดให้ดี ๆ ก่อน…”(*)
โดยเกร็ดเล็กๆน้อยๆ ตอนสิบปีก่อนผมนำเสนอบทความเกี่ยวกับประวัติศาสตร์หนังพระเจ้าช้างเผือก ในแง่มุมการศึกษาเจอคนเรียนฟิลม์ นำหนังสือที่เขาเขียนเกี่ยวกับหนังมาโชว์ ทำให้ผมสนใจอยากเรียนฟิลม์อย่างเค้า แต่เขาเรียนฟิลม์มหาลัยดังมากอย่างUCLA จริงๆแล้วเรื่องเล่าอีกด้านของภาคต่อการสะสมความทรงจำ หอภาพยนตร์ฯ(1)ความวูบไหวอารมณ์หาที่เรียนต่อ คือ ผมเคยคิดอยากเรียนฟิลม์ แต่ก็มีเพื่อนที่ไม่เรียนฟิลม์ทำหนังสั้นยกตัวอย่างคนที่ทำสารคดีหมอนรถไฟ ถ้าจำไม่ผิดเพื่อนก็เคยพามาร่วมทีมของเขา ตั้งแต่สมัยที่คนทำสารคดียังเรียนป.โทอยู่อเมริกา เล่าเรื่องนี้ด้วย
*ธงชัย วินิจจะกูล ว่าด้วย “ประวัติศาสตร์-ความต่อเนื่อง-การแทนที่-ฟิล์มภาพยนตร์”
https://konmongnangetc.com/tag/%E0%B8%98%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2-%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%88%E0%B8%88%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B9%E0%B8%A5/
4.3
ว่าด้วยการเมือง ผ่านเส้นทางท่าพระจันทร์ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปท่าวังหลัง
จากท่าพระจันทร์ เป็นท่าเรือริมฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ตั้งอยู่บริเวณสุดถนนพระจันทร์ ข้างมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
โดยผมมาเขียนรำลึกถึงปรีดี พนมยงค์ กับการเมืองไทย มาบ้างแล้ว เชื่อมโยงประชาธิปัตย์(*) ในแง่ช่วงชิงการเมืองมวลชนกับพรรคพลังธรรมหลังพฤษภา35(ตามรูปประกอบหนังสือภาพลักษณ์ปรีดีฯ) แม้ผมไม่ได้เป็นแบบบอยท่าพระจันทร์เรื่องพระเครื่องชื่อดัง ขอเป็นบอย ท่าจะสนใจการเมืองห่วงใยจากข่าวระเบิดในกรุงเทพฯ ถึงกลุ่มประชาธิปัตย์ กปปส.เตรียมเลือกตั้ง หรือจะมีเลือกตั้งจริงๆ? แล้วตามโรดแมปไทยแลนด์ ในหลายเรื่องของคนไทย
*การสะสมความทรงจำ การสะสมอาวุธ คือ การศึกษา


-ภาพประกอบจากการถ่ายภาพการเดินทางข้ามไปวังหลัง กับหนังสือภาพลักษณ์ของปรีดีฯ
4,5
การสะสมความทรงจำ ผ่านหอภาพยนตร์ มามหา’ลัย
บางตำรากล่าวถึงความทรงจำของสมองว่าอย่าไปพึ่งความทรงจำภายนอก ต้องใช้ความทรงจำภายในสมองจำไว้(*) แต่ผมเคยคุยเรื่องความทรงจำกับนักเขียน หนึ่งคน และผู้สื่อข่าวเขียนข่าว คอลัมภ์อีกหนึ่งคน น่าจะเป็นประเภทเดียวกับผม ที่ว่าการเขียนเป็นการเรียนรู้ การจดบันทึกช่วยจำ บีโธเฟ่น คีตกวีนักแต่งเพลงคลาสิค เคยกล่าวถึงสมุดบันทึกจำนวนมหาศาลของเค้าว่าถ้าไม่ได้เขียนในสมุดร่างเค้าจะลืม(**)
แต่ผมเหมาะกับสมุดร่างรูปภาพ สมุดบันทึกความทรงจำ เขียนไดอารี่ หรือวิธีการเขียนเรื่องเล่าเหล่านี้สะสมความทรงจำไว้
โดยผมเขียนบันทึกไว้ ผ่านเฟซบุ๊ค ซึ่งหลังจากแยกจากกลุ่มทัศนศึกษาของนักศึกษาผมอยู่กทม. ต่อมาหอภาพยนตร์(***) เล่าเพิ่มขยายความอีก คือ วันที่ไปไม่ได้ทั่วตามรูปประกอบแผนที่ดังกล่าว ตามประกาศ หอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ของดให้บริการทุกส่วนงานในวันที่ 25-26 พฤษภาคม 2560 นี้ เนื่องจากมีกิจกรรมสัมมนาประจำปีของเจ้าหน้าที่หอภาพยนตร์
ส่วนตัวผมคิดถึงประสบการณ์ที่บางคนเรียนสายวรรณกรรม คือ ภาษาไทย ที่เคยร่วมนำเสนอบทความประชุมวิชาการด้านภาพยนตร์ไทย บางคนรุ่นอายุใกล้กัน เติบโตทางวิชาการเป็นรศ.ไปเรียนศึกษาต่อระดับดุษฎีบัณฑิต สาขาภาพยนตร์ศึกษา
(Film Studies) ที่ต่างประเทศ ส่วนผมอารมณ์อยากเรียนต่อ ดร.ด้านนี้เป็นบางครั้งยังไม่มั่นคง แต่ถ้าฟลุ๊คได้ทุนก็เรียนเลย ฮร่า
จากภาพยนตร์ในความทรงจำ เชื่อมโยงชุมชนจินตกรรมฯ ไปในตัวตนของผม โดยผู้ที่พาผมนำชมอยากให้ผม สักวันหนึ่งเหมือนอภิชาตพงศ์ ผู้ที่อ.เบน ได้เคยเขียนเป็นบทความถึงหนังของเขา ที่ผมเคยอ้างผลงานชุมชนจินตกรรมฯ อ.เบน ไว้ในการวิเคราะห์หนังพระเจ้าช้างเผือก และแล้วผมได้ถูกนำมาที่มหา’ลัยมหิดล ได้รับการยอมรับเป็นมหา’ลัยมหิดลสีเขียวสิ่งแวดล้อมอันดับหนึ่งของไทย ก็คุยกันเรื่องวิทยาลัยดุริยางค์ศิลป์ รวมทั้งความทรงจำต่างๆ ที่ผมรับรู้ต่อมหาลัยนี้
อย่างไรก็ดี จากพื้นที่ ทำให้เกิดการเล่าเรื่องเปรียบเปรย ถึงความทรงจำ การเรียนรู้การศึกษาและ การสะสมความทรงจำย้ำไว้ไม่ให้ลืม
*ผมเขียนจากความจำทำเข้าใจจากข้อมูลจากหนังสือคิดแบบ เชอร์ล็อค โฮล์มส์ แต่หนังสือเทคนิคอ่านให้ไม่ลืม ที่จิตแพทย์อยากบอกคุณ
http://naiin.morestudio.co.th/product/detail/212875
http://www.welearnbook.com/index.php?lay=show&ac=cat_show_pro_detail&pid=1085737
(แนวพึ่งความทรงจำภายนอกให้เขียนออกมาบนเฟซบุ๊ค ฯลฯ)
**อ้างนักเขียนเรียนรู้จากวิธีการเขียน จึงเรียนไม่ดีไม่ได้เรียนรู้จากการอ่านและการฟังในห้องเรียน โดยข้อมูลจากหนังสือคู่มือบริหารจัดการตนเอง
***การสะสมความทรงจำ หอภาพยนตร์ฯ(จบ)

การสะสมความทรงจำ หอภาพยนตร์ฯ(1)

การสะสมความทรงจำ การสะสมอาวุธ คือ การศึกษา
7.2
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
พิพิธภัณฑ์พระนคร มีอะไรน่าสนใจมาแสดงหลายอย่างจากพิพิธภัณฑ์ต่างจังหวัด เช่น พระพุทธรูป กรณีการนำเสนอน่าสนใจของวิทยากรบอกว่าเขาเรียนจบด้านภาษาฝรั่งเศส โดยการวิเคราะห์หลักศิลาจารึกหลักที่1 บรรทัดห้าหกบรรทัดน่าเป็นของจริง ส่วนบรรทัดกลางๆ น่าจะปลอม เช่น ในน้ำมีปลาในนามีข้าว โดยอ้างหลักPrefixด้วย
เมื่อปีที่ผมเกิดพอดี นิตยสารศิลปวัฒนธรรม เปิดประเด็นศิลาจารึกหลักที่ 1 ก็มีถกเถียงมานาน และฉบับที่ผมถ่ายภาพมาโชว์เขียนโดยไมเคิล ไรท์(*) นักภาษาศาสตร์รู้ภาษาทมิฬ ภาษาลังกา นักโบราณคดี นักประวัติศาสตร์ ที่ศึกษาด้วยตนเอง ทั้งที่เรียนไม่จบปริญญาตรีด้วยซ้ำ ตามภาพจะมีบทความของเขา และหนังสือผลงานของเขา ที่ผมสะสมไว้ ซึ่งหน้าปกเป็นรูปเขากับแมว(**) ที่เขาชอบเขียนคอลัมภ์(นิสต์)แนวคุยกับแมวด้วย
อย่างไรก็ตาม หลายภาพหลายเรื่องที่วิทยากร พูดชวนคุยน่าสนใจทั้งการตีความ ประติมานวิทยา รูปปั้น กลองมโหระทึก สัญลักษณ์ปลามังกร สัญลักษณ์บาวริ่งต่างๆ ยกตัวอย่างภาพโยงอดีตรายงานพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 กับพิมาย พอดีช่วงนี้ทบทวนความทรงจำเตรียมสอนศิลปวัฒนธรรมอาเซียน ผ่านทับหลังนารายณ์บรรทมสินธุ์จากบุรีรัมย์มาจัดแสดงให้ชมความวิจิตรบรรจงในการสลักลวดลายบนหินแข็งแกร่งจนงดงามอ่อนช้อยเช่นกัน โดยชิ้นนี้มาจากปราสาทกู่สวนแตง อำเภอบ้านใหม่ไชยพจน์ สลักเสลาด้วยศิลปะเขมรโบราณ พุทธศตวรรษที่ 17 หรือราว 900 ปีมาแล้ว(***)
ผมไม่มีเวลาเขียนของสะสมที่นำมาแสดงสามารถเขียนเป็นบทความเล่าเรื่องขนาดยาวได้ตามรูป ครับ
*ภาพจากนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่24 ฉ.12 ตุลาคม 2546 ดูเพิ่มเติม ที่มีการเขียนถึงหลักศิลาจารึกทั้งเรื่องการวิเคราะห์เชิงประวัติศาสตร์ศิลปะ ฯลฯ
**ไมเคิล ไรท ความหวังยังไม่สิ้น
http://www.matichonbook.com/index.php/–45.html
(ผมสะสมหนังสือบางเล่มของไมเคิล ไรทด้วย)
***พระที่นั่งศิวโมกขพิมาน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=morkmek&month=02-03-2016&group=10&gblog=115
https://www.matichon.co.th/news/52325
https://kookaitravellernote.wordpress.com/2016/03/23/%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%96%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%AB%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B4-2/
7.3
พิพิธภัณฑ์ศิริราช
ภาพถ่ายเล่าเรื่องมีหลายรูป บางภาพก็ลบไป คัดเลือกภาพมาเล่าบางภาพ เช่น ภาพเรือ มีเรื่องเรือที่ขุดได้ พร้อมเรื่องเล่าผี ที่มีรอยเท้าน้ำ หรือคนเจอผีเดินเข้าไปในเรือ และมีเรื่องเรือหางแบน ต่างๆ ซึ่งภาพวิถีชีวิตผู้คน หลวงพ่อโต
โดยพิพิธภัณฑ์ซีอุย(*) วิทยากรเล่าเรื่องในนี้มีหลายกรณี โดยตามภาพผมอ่านจากศิลปวัฒนธรรมเรื่องซีอุย(*) เลยไม่ได้เข้าไปไม่มีเวลา น่าสนใจสืบจากศพ นิติเวช โดยดูข้อมูลเพิ่มเติมได้จากพิพิธภัณฑ์(**) มีรูปแผนที่พม่า ดาบ อาวุธ ประวัติวังหลัง ด้วยในความทรงจำผม
*ภาพจากนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ปีที่24 ฉ.12 ตุลาคม 2546
**พิพิธภัณฑ์ศิริราช
http://www.sirirajmuseum.com/siriraj-bimukshtan.html#bimukstan
รีวิว “พิพิธภัณฑ์ศิริราชพิมุขสถาน”…
https://pantip.com/topic/31659420

9.2
บุรีรัมย์ นครชัยศรี นครปฐมในแผนที่ไตรภูมิ แผนที่หอภาพยนตร์ สู่นนทบุรี วัดสวนแก้ว
ผมยังมีภาพเหลืออีกหน่อย อยากเล่าย้อนหลังไปบุรีรัมย์:เมืองปราสาทหิน ถิ่นภูเขาไฟ
ผ้าไหมสวย รวยวัฒนธรรม เนื่องจากผมเพิ่งย้อนกลับไปอ่านเรื่องของตำนานนครวัด ที่มีเรื่องเล่านครชัยศรี ว่าไม่ใช่นครปฐม ที่เกี่ยวโยงกับพระเจ้าชัยวรมันที่7 ซึ่งเกี่ยวโยงบุรีรัมย์แห่งปราสาทหินพนมรุ้ง(*) จึงอยากเล่าต่อเรื่องภาพประกอบหนังสือ กับภาพแผนที่โบราณสะท้อนอำเภอนครชัยศรี(**) เป็นอำเภอหนึ่งในจังหวัดนครปฐม โดยคำขวัญ ส้มโอหวาน ข้าวสารขาว ลูกสาวสวย แต่เราขับรถตามหาร้านข้าว ซึ่งเปิดแผนที่ตามหาร้านติ๊กโภชนากันตั้งนานกว่าจะเจอได้สัมผัสรสชาติจนได้
เมื่อนครปฐม แหล่งวัฒนธรรมทาราวดี มีเจดีย์ยิ่งใหญ่ ที่เป็นงานเขียนของสุจิตต์ วงษ์เทศ ไม่ได้เรียนจบป.เอก แต่มีฝีมือการเขียนสาระเป็นผู้นำด้านวัฒนธรรม หัวหอกนิตยสารศิลปวัฒนธรรม ที่ผมสะสมหนังสือไว้ ต่อมาเปิดข้อถเถียงเรื่องยุคทาราวดี จากหลังหนังสือพระปฐมเจดีย์ ไม่ใช่เจดีย์แห่งแรก แต่เป็นมหาธาตุหลวงยุคทวารวดี(***)
โดยผมเล่าเรื่องจากภาพหอภาพยนตร์ มูลนิธิหนังไทยเพิ่มเติมด้านศิลปะกับนิเวศสิ่งแวดล้อม เป็นเรื่องอดีตที่ผมสนใจเคยเสนอ แนวคิดจะทำวิจัยกับมูลนิธิหนังไทย ศึกษาภาพรวมหนัง เป็นช่องทางหารายได้อีกหน่อย แต่ไม่ได้ทำวิจัย มีไอเดียเรื่องโลกาภิวัตน์อีกด้วย
ส่วนภาพวัดสวนแก้ว สายพระพุทธทาส ครบรอบชาตกาลใน111 ปี ที่มีโอกาสไปวัดนี้(****) คือ นักเขียนกลอนตามรูป นักธรรมะ นักเทศน์ชื่อดัง ซึ่งผมมีเทปธรรมะสะสมตั้งแต่ผมเด็กๆ พระพะยอม เสียดายวันนั้นไม่มีโอกาสได้เจอท่าน เพียงอ่านบทกลอนการเมืองตามรูปเข้าวัดเข้าวาอายุยืนเสริมสร้างความดี
*ภาพจากหนังสือตำนานนครวัด และหนังสือปราสาทพนมรุ้ง
Back to the Past…กลับสู่อดีตในทัศนศึกษา(จบ)
**ภาพจากสมุดภาพไตรภูมิ ฉบับกรุงศรีอยุธยา มีรูปปลา ฯลฯ
การสะสมความทรงจำ ผ่านหอภาพยนตร์ มามหา’ลัย
***สุจิตต์ วงษ์เทศ : นครปฐม ยุคทวารวดี เป็นชื่อสมมุติ แต่ยุคจริงๆ ไม่เคยมี
https://www.matichon.co.th/news/489320
สุจิตต์ได้ตั้งคำถามแม้กระทั่งว่าพ่อขุนรามคำแหงมีตัวตนจริงหรือไม่
-ประมวลข้อถกเถียงเกี่ยวกับศิลาจารึกหลักที่ 1 (ตอน1)
http://www.tcijthai.com/news/2016/01/article/5998
ผู้เขียนคิดว่าการพยายามพิสูจน์ศิลาจารึกผ่านทฤษฎีทางสังคมศาสตร์หรือภาษาศาสตร์ไม่สามารถให้คำตอบที่จะเกิดข้อยุติ เพราะก็จะยังเป็นการตีความของใครของมันอยู่เช่นเดิมบนพื้นฐานของหลักฐานที่อาจจะไม่ใช่หลักฐานจริง
-ประมวลข้อถกเถียงเกี่ยวกับศิลาจารึกหลักที่ 1 (ตอนจบ)
http://www.tcijthai.com/news/2016/01/article/6000
****วัดสวนแก้ว เป็นวัดในจังหวัดนนทบุรี ตั้งอยู่ ณ เลขที่ 55/1 หมู่ที่ 1 ตำบลบางเลน อำเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี มีเจ้าอาวาส คือ พระพยอม กัลยาโณ
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%A7
9.3
วัดในนนทบุรี มีดีได้สัมผัส
ผมได้ถูกแนะนำวัดหลายวัด ในภาพตามความทรงจำ ต่อวัดที่1″วัดปรางค์หลวง” เป็นวัดเก่าแก่แห่งหนึ่งที่ตั้งอยู่ริมคลองบางกอกน้อย ตั้งอยู่เลขที่ 32 คลองบางกอกน้อย หมู่ 1 ต.บางม่วง อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี สร้างในสมัยของพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ผู้สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ในช่วงกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ประมาณ ปีพ.ศ.1890(*)
วัดที่2 วัดปราสาท ลักษณะโบสถ์จะโค้งตกท้องช้าง อันเป็นเอกลักษณ์ของโบสถ์สมัยอยุธยา ภายในมีภายวาดสมัยอยุธยาตอนปลาย ยุคเดียวกับ วัดใหญ่สุวรรณาราม จังหวัดเพชรบุรี เป็นภาพทศชาติ(**) มีปูนปั้นประดับตกแต่งประตตูทางเข้าสวยงาม
วัดที่3 วัดเสาธงหิน หัวหมู่ทหารนำพลพรรคไปหาเอาหินก้อนใหญ่ๆ มากองทัพเสาธงและล้อมรอบธงไว้มิให้ธงล้ม เพื่อเป็นเอกลักษณ์ของทัพและเป็นสัญลักษณ์จุดนัดหมายของทหาร แม่ทัพนายกองและไพร่พลทั้งหลายจึงพากันเรียกขานจุดนัดหมายนี้ว่า”เสาธงหิน” จากปากต่อปากเรียกกันมาเรื่อย ๆ จนกระทั่งถึงทุกวันนี้(***)
วัดที่ 4 วัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร เป็นพระอารามหลวง วัดสำคัญ คู่บ้านคู่เมือง มาร่วม 135 ปีแล้ว พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 โปรดให้สร้างขึ้น เพื่อถวายพระอัยกา พระอัยกี และ สมเด็จพระราชชนนี ณ บริเวณป้อมเก่า (ป้อมทับทิมสมัยกรุงศรีอยุธยา) ซึ่งตั้งอยู่ริมฝั่ง แม่น้ำเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก ภายในวัดเฉลิมพระเกียรติวรวิหาร มีอุโบสถที่สร้างด้วย สถาปัตยกรรมแบบไทยปนจีน มีภาพเขียนฝาผนังอันสวยงาม ด้านในประดิษฐาน พระประธานปางมารวิชัย หล่อด้วยทองแดงงดงามมาก ปัจจุบันที่นี่ยังเป็นสถานที่ยอดนิยมของการเป็นสถานที่สำหรับถ่ายละครย้อน ยุคหลายๆเรื่องอีกด้วย(****)
ดังนั้น ผมได้ความทรงจำบุรีรัมย์ นครชัยศรี นครปฐมในแผนที่ไตรภูมิ แผนที่หอภาพยนตร์ สู่นนทบุรี วัดสวนแก้ว
กับการสัมผัสหลายวัดของนนทบุรี สำหรับผม เมืองที่มองไม่เห็นในแผนที่ไตรภูมิด้วย
*วัดปรางค์หลวง วิกิพีเดีย
** http://oknation.nationtv.tv/blog/watprasat/2009/08/08/entry-1
***วัดเสาธงหิน วิกิพีเดีย
****http://www.sawasdee-idea.com/preview/nakornnont.com/blog/travel/%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%94%E0%B9%80%E0%B8%89%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%A3%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%B4/
10 มิถุนา
การสะสมความทรงจำ สะสมสื่อสิ่งพิมพ์
วันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535 เมื่อนายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรี รัฐบาลของพลเอกสุจินดา คราประยูร จึงสิ้นสุดลงอย่างสมบูรณ์[*] โดยผมทบทวนความทรงจำ ผ่านภาพจากนิตยสารสารคดี(**) ที่ผมสะสมความทรงจำ สะสมสื่อสิ่งพิมพ์ไว้ มีภาพคนชูป้ายสุ ออกไปเป็นภาษาอังกฤษ และคนชูป้ายต้องการนายกฯจากการเลือกตั้ง เวลาผ่านไปแปลกใจ กับคนไทย
เมื่อผมตามหาเนชั่น สุดสัปดาห์ ฉบับสุดท้ายหายากมาก จนกระทั่งผมหาซื้อไว้เป็นที่ระลึกตามภาพผมมาจากสายที่สนใจวรรณกรรม ในเนชั่นสุดสัปดาห์ ซึ่งฉบับตามภาพหน้าปกนิตยสารย้อนอดีตนำหน้าปกเก่า เมื่อปี2535 หน้าปกอานันท์ ปันยารชุน โดยข้อความอนิจลักษณะของการเมืองไทย ในเนชั่น สุดสัปดาห์ มีที่มาจากหนังสืออนิจลักษณะของเศรษฐกิจไทย ทำให้ผมเห็นประเด็นน่าเรียบเรียงอย่างย่อๆ…บทความทั้งหมดที่รวบรวมในหนังสือเล่มนี้ ปรากฏในนสพ.ผู้จัดการรายวัน ระหว่างเดือนม.ค.2534ถึงมิ.ย.2536 โดยผู้เขียนคัดสรรบทความจากการเป็นคอลัมนิสต์ในนสพ.ผ้จัดการรายวันนั้น ผู้เขียนไม่คาดคิดว่าการเป็นคอลัมภนิสต์นั้นเป็นเรื่องยากยิ่ง การเขียนบทความวิเคราะห์พฤติกรรมและปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจและบทความวิพากษ์นโยบายเศรษฐกิจของรัฐบาล ไม่เพียงแต่บีบบังคับให้ผู้เขียนจำเป็นต้องติดตามข่าวเศรษฐกิจโดยใกล้ชิดเท่านั้น
หากทว่ายังทำให้ผู้เขียนต้องสะสมข้อมูลสำหรับการเขียนบทความอีกด้วย….ในคำนำหนังสืออนิจลักษณะของเศรษฐกิจไทยของรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ (**) ต่อมาอดีตของผมได้เขียนงานในเนชั่นสุดสัปดาห์ได้รับบทเรียนรู้ และผมเขียนในเฟซบุ๊คเรื่องการเมืองโดยอ้างงานเขียนชิ้นนี้ว่าระวังระยะยาวการสะสมอาวุธ เช่น ซื้อเรือดำน้ำ จะส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจมาต่อเนื่อง ในหลายประเด็นว่าด้วยการเมือง(***) นี่ก็เป็นอีกวันในอดีตที่ควรทบทวนการสะสมความทรงจำ สื่อสิ่งพิมพ์ไว้ด้วย
*วันที่ 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 พลเอก สุจินดา คราประยูร ประกาศลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยมีนายมีชัย ฤชุพันธ์ รักษาการในตำแหน่งนายกรัฐมนตรี – See more at: http://wiki.kpi.ac.th/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B2_%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B9%E0%B8%A3#cite_note-6
(ภาพจากสารคดีฉบับพิเศษ รวมเลือดเนื้อชาติเชื้อไทย)
**ภาพจากหนังสืออนิจลักษณะของเศรษฐกิจไทย และอ่านเพิ่มเติมคนรุ่นต่อมาอย่างปกป้อง จันวิทย์ ได้เขียนถึงคอลัมภ์ดังกล่าว คือ จากท่าพระจันทร์ถึงสนามหลวง ถือว่าอาจารย์รังสรรค์เป็นPop Economistยุคแรกเริ่ม ด้วยเหตุที่มีงานเขียนปรากฏสู่สาธารณชนในวงกว้าง อ้างเปรียบPaul Krugmanกับรังสรรค์ โดยอายุคอลัมภ์สิบสามปี ในPOP ECONOMIST รังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ นักวิชาการที่ดี และมนุษย์ที่แท้จากนิตยสาร Open (เล่ม34 2003)
***ว่าด้วยการเมือง ผ่านเส้นทางท่าพระจันทร์ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปท่าวังหลัง
10.2
การสะสมความทรงจำ นครหลวง นครราชสีมา นครปฐม นนทบุรี
๑๐ มิถุนายน วันกำเนิดภาพยนตร์ในสยาม โดยผมคิดแต่งบทหนังสั้นแนวหนังอิงประวัติศาสตร์ ตำนานอโยธาท้านครหลวง การสู้รบจากยุคพระเจ้าอู่ทอง(เกี่ยวกับวัดปรางค์หลวง นนทบุรี) แล้วแยกกองทัพลงไปโจมตีกัมพูชา(*) ปราสาทหิน “Angkor” หมายถึงเมืองพระนครหรือยโศธรปุระ “Angkor Thom” หมายถึง เมืองพระนครหลวง หรือ นครธม (ธมแปลว่าใหญ่) “Ankor Wat” หมายถึงปราสาทนครวัด นี่เป็นการตีความนครหลวงดังกล่าว ผ่านการอ่านภาษาไทยจากแผนที่สมุดภาพไตรภูมิ(**)
ซึ่งผมสร้างภาพประกอบหอภาพยนตร์ ที่นครปฐม โดยคำขวัญประจำจังหวัดนครปฐม”ส้มโอหวาน ข้าวสารขาว ลูกสาวงาม ข้าวหลามหวานมัน สนามจันทร์งามล้น พุทธมณฑลคู่ธรณี พระปฐมเจดีย์เสียดฟ้า” โดยความทรงจำของผม ที่มีภาพถ่ายของผมเหลือ โดยวัดปราสาท นนทบุรี อุโบสถสี่ร้อยกว่าปี สร้างสมัยพระเจ้าปราสาททอง มีอะไรให้เขียนยาว กรณียุคสมัยพระเจ้าปราสาททอง(***)นี่แหละราวกับบทหนังด้วย
**วัดในนนทบุรี มีดีได้สัมผัส

(ที่นี่กลายเป็นสถานที่ผีๆ ดูเพิ่มเติมทีมอาถรรพ์ 13 บุก “วัดปราสาท จ.นนทบุรี”)
บุรีรัมย์ นครชัยศรี นครปฐมในแผนที่ไตรภูมิ แผนที่หอภาพยนตร์ สู่นนทบุรี วัดสวนแก้ว
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร

(ผมอ้างไมเคิล ไรท์ ดูเพิ่มเติมภาพประกอบมาจากบทความภูมิศาสตร์ของสุนทรภู่ อ้างสมุดภาพกรุงธนบุรี และภาพจากหนังสืออังกอร์ ที่ผมสะสมไว้สร้างภาพให้เห็นด้วย)
***ดูเพิ่มเติม พระเจ้าปราสาททองโปรดให้ถ่ายแบบนครวัดมาสร้างปราสาทนครหลวงก็อาจเป็นหนึ่งในวิถีทางของการเคลื่อนย้ายความศักดิ์สิทธิ์…หรือปราสาทนครหลวง เริ่มสร้างขึ้นในสมัยสมเด็จพระเจ้าปราสาททอง
โดยทรงโปรดให้ช่างไปถ่ายแบบมาจากปราสาทเมืองพระนครหลวง ประเทศกัมพูชา
เพื่อเป็นที่พักร้อนก่อนที่จะเสด็จไปนมัสการรอยพระพุทธบาทจังหวัดสระบุรี
ปราสาทนครหลวง วัดนครหลวง ต.นครหลวง อ.นครหลวง จ.อยุธยา
http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=noirathsub&month=07-03-2015&group=4&gblog=216
12 มิถุนา
การสะสมความทรงจำ
วันนี้วันชาติฟิลิปปินส์ เป็นประเทศที่น้องสาวผมเคยไปเรียนอยู่ที่นั่น(*) หนึ่งในประเทศของอาเซียน และผมค้นหาเรื่องเล่าผ่านมุมมองอย่างฟิลิปปินส์ มีศูนย์อาเซียนศึกษา(**) บรรยากาศการนำเสนอด้านวัฒนธรรมของฟิลิปปินส์ ตามภาพประกอบ และลิ๊งค์ข้อมูลสถาบันการศึกษาเกี่ยวกับวัฒนธรรม
สถาบันวัฒนธรรมศึกษา (ICS) ของสำนักงานประธานฝ่ายวิจัย การขยายและการพัฒนาได้ผ่านการเปลี่ยนแปลงไปนับตั้งแต่เริ่มก่อตั้งเมื่อปีพ. ศ. 2529
การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้มีส่วนทำให้เกิดการเติบโตอย่างรวดเร็วของสถาบันที่ให้ความสำคัญของทฤษฎี , ปรัชญาและการวิเคราะห์การอ่านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ศิลปะ สังคม และการเมือง
สถาบันได้รับการปลูกฝังและพัฒนาขึ้นโดยประชาชน ที่มีปัญญาชนส่วนร่วมต่อองค์ความรู้ในสาขาปรัชญา ประวัติศาสตร์ สังคมวิทยา วรรณกรรม สุนทรียศาสตร์ มานุษยวิทยา วัฒนธรรม และการเมืองเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่ง(***)
นี่แหละ ผมแปลมาย่อๆ จะยาวไป ฟิลิปปินส์ให้ความสำคัญด้านวัฒนธรรมศึกษา มาตั้งแต่ปี2529 ยาวนานหลายปี(แล้วมีข้อมูลลิ๊งค์อื่นๆ****) ด้านนี้อย่างที่เห็นปัจจุบันประเทศฟิลิปปินส์ ก็ถูกจัดให้มีวัฒนธรรมประชาธิปไตยจากการเลือกตั้งด้วย
*วันนี้วันชาติรัสเซียอีกด้วย
**ศูนย์อาเซียนศึกษามหาวิทยาลัยฟิลิปปินส์
http://ac.upd.edu.ph/
12.2
แผนที่ไตรภูมิ พิจิตร และวัด(1)
หลายวันก่อนผมอยู่พิจิตร มาธุระเรื่องงาน ไม่ได้เจอน้อง ก็กลับมาพบพ่อแม่ ญาติ ฯลฯ ได้ทบทวนความทรงจำผ่านภาพแผนที่เมือง ในสมุดภาพไตรภูมิฉบับกรุงศรีอยุธยา มาด้วยความทรงจำตามรูป สมุดภาพไตรภูมิ ฉบับอักษรธรรมล้านนาและอักษรขอม สมุดภาพไตรภูมิฉบับอักษรขอม ภาษาไทย(สมุดภาพแผนที่กรุงศรีอยุธยาผมเคยอธิบายแล้วสะท้อนพม่า ฟิลิปปินส์ฯลฯ)
โดยผมแวะเข้าวัดยังไม่ได้เผยแพร่ตอนที่1 น่าเสียดายไม่มีเวลาไปวัดพระพุทธบาทเขารวก(ตามภาพแผนที่สมัยใหม่) ตั้งอยู่หมู่ที่ ๕ ตำบลวังหลุม อำเภอตะพานหิน จังหวัดพิจิตร เป็นวัดที่หลวงปู่โง่นโสรโย พระเถราจารย์ชื่อดัง ซึ่งเคยจำพรรษาอยู่ ภายในวัดมีรอยพระพุทธบาทจำลอง ซึ่งจำลองมาจากวัดพระพุทธบาทสระบุรี และรูปหล่อหลวงปู่โง่นโสรโย
ซึ่งท่านได้สร้างพระพุทธวิโมกข์ปางสมาธิจำนวนมาก มอบแก่โรงเรียนต่าง ๆ ทั่วประเทศ เพื่อเผยแพร่ จรรโลงไว้ในพุทธศาสนา นอกจากนี้ยังมีกลองที่ทำด้วยไม้ประดู่ยักษ์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก ชื่อว่า กลองนันทะเภรีศรีราชรุกโข มโหระทึกมฤคทายวันบันลือโลก และรูปปั้นฤาษีอายุ ๑,๐๐๐ – ๑,๕๐๐ ปี ซึ่งเป็นหินศิลาแลง และมีสัตว์หลายชนิด เช่น นกเงือก นกยูง ๓ สายพันธ์ คือ อินเดีย ไทย และฮอนแลนด์ นอกจากนี้หลวงปู่โงน โสรโย ยังเป็นผู้ฟื้นตำนานพระสุพรรณกัลยา ซึ่งท่านได้สัมผัสทางวิญญาณจากความฝัน และเผยแพร่วีรกรรมของพระนางที่เสียสละสรีระไว้ในต่างแดน เพื่อกอบกู้บ้านเมืองผืนแผ่นดินสยามทั้งประเทศไว้ให้คนไทยได้อาศัยอย่างมีความสุข ซึ่งการกระทำของพระนางไม่เคยได้รับคำสรรเสริญจากใคร และต่างลืมท่านหมด(*) แล้วผมจะเขียนเรื่องการเดินทางไปวัดต่อตอนที่2 ตามภาพใกล้วัดแห่งหนึ่งด้วย
*วัดพระพุทธบาทเขารวก
http://www.m-culture.go.th/young/ewt_news.php?nid=430&filename=index
ลองค้นหาเพิ่มเติมหลวงปู่โง่น โสรโย
15 มิถุนา
การสะสมความทรงจำ การสะสมสื่อสิ่งพิมพ์
วันนี้วันไข้เลือดออกอาเซียน(มีการรณรงค์ปล่อยปลากินลูกน้ำก่อนกลายเป็นยุง) โดยผมจะเขียนเปรียบเทียบการเมืองอาเซียน(เอเชียตะวันออกเฉียงใต้, อุษาคเนย์,เอเชียอาคเนย์)ในประเทศ เช่น พม่า กัมพูชา สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์ เน้นย้ำไทย ซึ่งแง่การเมืองอย่างที่ผมเคยเขียนเปรียบเทียบมาก่อนหน้าแล้ว กับสหราชอาณาจักร ซึ่งรูปภาพบรรณานุกรมเอเชียอาคเนย์ศึกษาในประเทศไทย สะท้อนองค์ความรู้จำนวนมากของสื่อสิ่งพิมพ์ ทั้งบทความในนสพ.หนังสือ วิทยานิพนธ์ฯลฯ(*) ให้เราเรียนรู้เขารู้เรา คำว่าSoutheast Asia ก็ถูกบัญญัติโดยอังกฤษ สมัยสงครามโลกครั้งที่สอง(หนังสือบรรณานุกรมฯ) และคำว่าSoutheast Asia ยังมีกล่าวถึงMaking wars means making Maps (หนังสือกำเนิดสยามจากแผนที่ (Siam Mappedฯ)ที่ผมเขียนถึงบ่อย)
กรณีที่ผมจะเขียนต่อขยายความมาเป็นประเด็นอดีตถึงปัจจุบันจากมุมมองเปรียบเทียบปัญหาจุดอ่อน ที่ประชาธิปไตยไม่ได้เป็นแบบสหราชอาณาจักร(ฮุนเซน ผู้นำกัมพูชา) เพิ่งผ่านการเลือกตั้งมา มีทั้งพรรคแห่งชาติสกอตแลนด์(**) เป็นพรรคเล็ก(ฯลฯ) โดยพรรคใหญ่สู้กันสองพรรค แล้วก็พรรคอนุรักษ์ชนะ แม้ว่าอาเซียนจะตามรอยอียู หรือเราจะตามรอยต้นแบบประชาธิปไตยสหราชอาณาจักรด้วย
เมื่อชุมชนจินตกรรมฯ เป็นสิ่งประดิษฐ์ไม่ว่าจะชาตินิยม ประชาธิปไตย การปฏิวัติ โดยวิธีวิทยาแบบมาร์กซิสม์โมเดรินนิสต์กับการวิเคราะห์วาทกรรมอย่างโพสต์โมเดริน์ ต้องการทลายความคิดอันไร้เดียงสา ที่เชื่อว่าชาติของตน มีลักษณะเฉพาะที่แปลกพิเศษไม่เหมือนใคร รวมทั้งคำที่พูดกันจนเฝือ แต่หาสาระความเป็นจริงมิได้เกี่ยวกับวัฒนธรรมภูมิภาค(cultural regional) ดังเช่นคำว่า “ค่านิยมเอเชีย”(Asian values)อันลือลั่นกระฉ่อน(***) มีข้อถกเถียงกันทั้งค่านิยมเอเชีย(****) โดยฝรั่งเคยวิเคราะห์การสร้างวาทกรรมประชาธิปไตยแบบเอเชีย(*****) คือ การให้ความสำคัญกับผู้นำ การมีพรรคการเมืองแบบเด่นพรรคเดียว(ฯลฯ) ผมยกตัวอย่างย่อๆ การจัดให้มีประชาธิปไตยจากการเลือกตั้ง ไม่เหมือนพม่า แต่การสร้างวัฒนธรรมการเมืองไทยเราย้อนกลับไปเป็นเหมือนยุคพฤษภา35(******) ไทยไม่ใช่เมืองพม่าตามรูปที่ผมเคยเขียนมาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งการวิเคราะห์ปัจจัยภายในต้องเกิดในพม่า เพราะตัวอย่างพม่า แม้มีแรงผลักดันภายนอก จนกระทั่งซูจีได้โนเบลสันติภาพ มาถึงยุคปัจจุบันกว่าซูจี จะได้เลือกตั้งยาวนาน
กระนั้น การให้ความสำคัญกับผู้นำอย่างซูจี หรือเปรียบเทียบอดีตผู้นำอาเซียนอย่างลีกวนยู(ผู้สร้างคำค่านิยมเอเชีย) ที่เป็นพรรคการเมืองแบบเด่นพรรคเดียว คือ พรรคกิจประชาชนของลีกวนยูไม่เคยแพ้การเลือกตั้งผู้แทนราษฎรนับตั้งแต่แยกตัวออกมาจากมาเลเซีย(โดยออกจากอาณานิคมอังกฤษ)ในปีก่อตั้งประเทศในปี 2508(นานกี่ปีนับดู?) ส่วนฟิลิปปินส์ ตามที่นักวิชาการตะวันตกกล่าวว่าฟิลิปปินส์เป็นเพียงประเทศเดียวในเอเชียอาคเนย์ ที่มีพรรคการเมืองสองพรรคผลัดกันเป็นรัฐบาลในช่วงปี1946 ถึง1965ด้วย
เมื่อผมย้อนมองดูไทยเปรียบเทียบกับหลายประเทศดังกล่าวอย่างย่อๆ คือ ไทย ที่มีพรรคการเมืองเริ่มเด่นขึ้นมาพรรคเดียวอย่างไทยรักไทย มีช่วงหนึ่งทักษิณถึงกับกล่าวว่าจะเป็นรัฐบาลถึงยี่สิบปี(ดูสยามรัฐ ) หรือ การกล่าวถึงทักษิณชื่นชมและอยากจะเอาอย่างลีกวนยู(หรือ ‘ลีกวนยู’ พูดถึง ‘ทักษิณ’*******) ก็ตาม และนักวิชาการกล่าวว่า เราจะอยู่กับทักษิโนมิกไปอีกสิบปี ยี่สิบปีด้วย(********)
โดยคนเขียนเรื่องประชาธิปไตยแบบเอเชียเคยมองอนาคตในแง่ดีไว้จากเขียนปี1994 อนาคตอันใกล้ประมาณ20ปีข้างหน้า มีความเป็นไปได้สูงว่าประชาธิปไตยแบบเอเชียจะเปลี่ยนไปสู่ประชาธิปไตยเสรีแบบตะวันตก ฯลฯ แต่กลับกันไทย ในปัจจุบันไม่เสรีด้วย
ซึ่งเวลาจากปี2544-60 การรัฐประหารคั่นจังหวะสองครั้ง ต่างจากล้มรัฐบาลอย่างชาติชาย ปี34อ้างว่าได้ตำรับมาจากเผด็จการรัฐสภาของมาร์กอส(*********) หลังจากนั้นชาติชายหมดบทบาท เปรียบกับทักษิณ(ก่อนหน้านายกฯพรรคพลังประชาชน พรรคเพื่อไทย-ยิ่งลักษณ์)จาก2544ผ่านมา16 ปีแล้ว
ดังนั้น การสะสมความทรงจำ การสะสมสิ่งพิมพ์เป็นหลักฐาน ให้เห็นประวัติศาสตร์สะท้อนให้เห็นการวิเคราะห์ระยะยาว โดยสถานการณ์การเมืองอุปมาปลาใหญ่ โดยรัฐบิ๊กตู่ ที่ผ่านมายกตัวอย่างเป็นข่าวประธานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ เห็นแย้งกรณีจ่อเซ็ตซีโร่ กกต.-กสม. ระบุปลา 2 น้ำอาจจะอร่อยกว่าปลาน้ำเดียว หรือวัส ติงสมิตร ชี้คำอธิบายเซ็ตซีโร่ “ปลา 2 น้ำ” ฟังไม่ขึ้น ขอความเมตตาพิจารณาเป็นรายไป แล้วกระบวนการจัดการสร้างปัญหาต่างๆไม่ให้เสียของบิ๊กตู่ คงเสียของระยะยาว ที่เป็นข่าวตั้งคำถามการเลือกตั้ง ในที่สุดคำตอบอยู่ที่ประชาชนเลือกตั้งตามแบบประชาธิปไตย
*บรรณานุกรมเอเซียอาคเนย์ศึกษาในประเทศไทย กรุงเทพฯ : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, 2538 ซึ่งหนังสือราว 400 เล่ม วิทยานิพนธ์ และบทความต่างๆ 1,700 เรื่องด้วย(รวมหลากหลายทั้งรัฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ศิลปะ โบราณคดีฯลฯ) ซึ่งสมัยผมทำวิทยานิพนธ์ก็ต้องดูหนังสือเล่มนี้ว่ามีใครทำวิทยานิพนธ์เรื่องอะไรจะได้ไม่ซ้ำเดิมด้วย
(ภาพหน้าปกเป็นแผนที่อาเซียนสมัยโบราณ และหนังสือให้นิยามบางด้านไทยทำตัวเป็นญี่ปุ่นน้อยต่อประเทศเพื่อนบ้าน แต่ผมคิดถึงที่ว่าญี่ปุ่น มีพรรคเสรีประชาธิปไตยผูกขาดการจัดตั้งรัฐบาลจากปี1955-1994ตามข้อมูลคนเขียนเรื่องประชาธิปไตยแบบเอเชียยาวนานเกือบ40ปี)
** ฟุตบอล บุรีรัมย์ยูไนเต็ด บอยอินซากี้ ณ สนามกีฬา และสนามบินดอนเมือง

(ผลการทบทวนเตรียมสอนศิลปวัฒนธรรมอาเซียนบางสัปดาห์ต้องมีสอนหัวข้อเกี่ยวกับศิลปะการแสดง ดนตรี นาฏศิลป์ และกีฬา)
***กิจการเดินสาร-ข้ามผ่านภาษา:ว่าด้วยภูมิ-ชีวประวัติของชุมชนจินตกรรม(Travel and Traffic : On the Geobiography of Imagined Communities ) ในหนังสือชุมชนจินตกรรมฯอ้างGöran Therborn ในการเขียนบทดังกล่าวด้วย
โดยผมได้เขียนย่อๆ ต่อเนื่องเรื่องหนังสือชุมชนจินตกรรมฯบ่อยๆไว้กรณีGöran Therborn ผมเคยเขียนไว้ใน“การสะสมความทรงจำว่าด้วยการศึกษา”(1)

(ทุนนิยมอังกฤษกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในศตวรรษที่ 19 ต่อมาศตวรรษที่20เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ก็เป็นภูมิภาคที่มีพรรคคอมมิวนิสต์ กรณีลีกวนยิว ก็ปราบคอมมิวนิสต์ด้วย)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ข้อถกเถียงทางการเมือง
(หนังสือดังกล่าวแนวการวิเคราะห์แบบมาร์กซิสม์ ย่อมต่างจากจุดยืนแนววิเคราะห์เสรีนิยม ฯลฯ)
****Asian values
https://en.wikipedia.org/wiki/Asian_values
“Asian Values” and Democracy in Asia
http://archive.unu.edu/unupress/asian-values.html
LEE KUAN YEW AND THE
“ASIAN VALUES” DEBATE
http://www.cafefle.org/texteskkkmg-icc_articles/13_Singapore_26p-Pol%20copie.pdf
(ผมตีความการสร้างวัฒนธรรมค่านิยมสิบสองประการ อาจจะตีความเป็นค่านิยมไทย หรือแนวประชาธิปไตยไทยๆ)
https://books.google.co.th/books/about/Asian_Style_Democracy.html?id=CmI8ngAACAAJ&redir_esc=y
(ผมใช้ข้อมูลบทความภาษาไทย โดยยกตัวอย่างย่อๆ)
The Myth of Asian-Style Democracy
https://www.researchgate.net/publication/249973833_The_Myth_of_Asian-Style_Democracy
(ดูเพิ่มเติมประเด็นนิยายโบราณของประชาธิปไตยแบบเอเชีย)
******การสะสมความทรงจำ การสะสมอาวุธ คือ การศึกษา

การสะสมความทรงจำ สะสมสื่อสิ่งพิมพ์

การสะสมความทรงจำ

สปท. เห็นชอบ ร่างพ.ร.บ.ส่งเสริมวัฒนธรรมการเมือง เสนอตั้งองค์กรทำงานตามแผนแม่บท
https://prachatai.com/journal/2017/06/71904
(ผมเคยเขียนเปรียบเทียบเกาหลีใต้ ผ่านแผนที่โดย่านภาพหนังสือกำเนิดแผนที่สยามฯปีที่แล้ว การสร้างวัฒนธรรมสยามหรือไทย น่าสังเกตพรบ.ส่งเสริมวัฒนธรรมการเมืองเป็นไทยหรือสากล)
*******ย้อนความ ‘ลีกวนยู’ พูดถึง ‘ทักษิณ’ และประเทศไทยในหนังสือของตัวเอง
https://prachatai.com/journal/2015/03/58563
********ทักษิโณมิคส์ จะยังอยู่กับเราอย่างน้อย 10-20 ปี.
http://digi.library.tu.ac.th/journal/0159/4_4_oct_dec_2549/08PAGE78_PAGE93.pdf
ทักษิณ นายกฯ ๒สมัย ไทยรักไทยรัฐบาล ๒๐ปี สยามรัฐ สัปดาห์วิจารณ์ปีที่๔๙ ฉ.๔๙ วันศุกร์ที่ ๒ วันพฤหัสที่ ๘ พฤษภาคม พ.ศ.๒๕๔๖
*********อดีตประธานาธิบดีคนที่ 10 ของฟิลิปปินส์ เคยดำรงตำแหน่งตั้งแต่ปี ค.ศ. 1965-ค.ศ. 1986 เป็นเวลาเกือบ 21 ปีและพ้นจากตำแหน่งโดยการหลบหนีออกนอกประเทศ หลังการลุกฮือของประชาชน ในปี ค.ศ. 1986 ซึ่งนำโดยนางคอราซอน อากีโน ภริยาหม้ายของนายเบนิโญ อากีโน อดีตนักการเมืองฝ่ายค้าน(ผมเคยเล่าแล้วเรื่องเคยทำรายงานเปรียบเทียบขบวนการเคลื่อนไหวไทยกับฟิลิปปินส์ โดยบริบทอธิบายจะยาวมาถึงปัจจุบัน)
15.2
แผนที่ไตรภูมิ พิจิตร และวัด(จบ)
เนื่องจากผมไปดูการเตรียมงานบวช เพราะญาติจะไปบวช ที่วัดดงป่าคำ พิจิตร มีรายละเอียดเล่ายาว แต่เล่าสั้นๆผมติดงานไปไม่ได้ในตอนที่1 ต่อตอนที่2 ซึ่งญาติชวนไปวัดนี้บอกรู้จักกับพระที่เรียนเวทมนต์ รู้ไสยศาสตร์ ปฏิบัติธรรมดี เคยธุดงค์ไปพม่า ต่างๆ ผมนึกถึงเปรียบเทียบอย่างหลวงปู่โง่นว่าบิดาเป็นหัวหน้าล่องแพไม้ซุง มารดาเป็นชาวลำพูน
เมื่ออายุได้ประมาณ 10 ปี ซาโต้โมมอง เลขานุการข้าหลวงใหญ่ชาวฝรั่งเศสประจำอินโดจีน รับตัวเป็นบุตรบุญธรรม และได้ศึกษาที่ต่างประเทศจนจบปริญญาเอก ณ มหาวิทยาลัยในเยอรมัน สามารถพูดได้ถึง 7 ภาษา เดิมนับถือศาสนาคริสต์ เมื่ออุปสมบทปีแรกพระอุปัชฌาย์ และพระอาจารย์ผู้อุปการะ คือ หลวงพ่อวัง ได้ร้องขอและส่งให้ไปอยู่กับพระสหายของท่าน คือ เจ้ายอดแก้ว บุญทัน บุปผรัตน์ ธมฺมญาโณ ที่วัดสุวรรณารามราช มหาวิหาร นครหลวงพระบาง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ซึ่งต่อมา เจ้ายอดแก้ว บุญทัน บุปผรัตน์ ได้เลื่อนสมณศักดิ์ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชแห่งสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ต่อมากรุงเวียงจันทน์เกิดเหตุจลาจล ใน พ.ศ. 2518 พระองค์ได้เสด็จลี้ภัยเข้ามาอยู่ในประเทศไทย และสิ้นพระชนม์ ใน พ.ศ. 2528 ส่วนหลวงปูโง่นในขณะนั้นเป็นพระนวกะ ได้เรียนนักธรรมและบาลีแบบลาว…..
ติดคุกในลาว เดินทางไปพม่า อินเดีย เนปาล ธุดงค์หลายแห่งในไทย ตามถ้ำ
โดยเรื่องเล่าหลวงปู่โง่นละสังขารของท่านเมื่อวันที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2542 รวมสิริชนมายุได้ 94 ปีเศษ นับว่ามีอายุมากแต่สังขารของหลวงปู่โง่น ไม่แก่เฒ่าอย่างที่ทุกคนคิด เพราะท่านมีวิธีรักษาจิตเพื่อชะลอความแก่ไว้ด้วยธรรมสมบัติ มีธรรมสมบัติเป็นจิตใจจึงเป็นใจที่สงบ อันใจที่สงบนั้นย่อมไม่แก่ชราดังพระพุทธภาษิตว่า สตญฺจ ธมโม นชรํ อุเปติ ธรรมของผู้มีใจสงบนั้นย่อมไม่เข้าถึงความแก่ชรา ก็คือการชะลอความแก่ไว้ด้วยธรรมสมบัตินั่นเอง(*)
อย่างไรก็ตาม ภาพไตรภูมิพิจิตร เปรียบเทียบกับพิษณุโลก ตำแหน่งเปลี่ยนไป โดยประเด็นที่ผมสนใจความทรงจำกับประวัติศาสตร์ ที่ถูกทำให้ศักดิ์สิทธิ์ ยังมีเปลี่ยนจากภาพไตรภูมิ จากชีวประวัติหลวงปู่โง่น และกรณีการฟื้นเรื่องพระนางสุพรรณกัลยา เป็นประเด็นที่ผมสนใจจากการกลับมาอ่านบทความเก่าๆ ในแง่อ่านใหม่ ต่อความทรงจำของสังคม ที่มีความเชื่อทางศาสนา จะทำให้จำได้(**) โดยส่วนตัวก็เขียนเรื่องทำนองความทรงจำ ทำให้ชีวประวัติศักดิ์สิทธิ์ และสนใจเรื่องความทรงจำมาต่อเนื่อง(***) อย่างเปรียบเทียบ และเปรียบเปรย ตัวตนต่อความทรงจำของคนในสังคมด้วย
*ผมเรียบเรียงย่อๆอ่านต่อได้ที่:
https://www.gotoknow.org/posts/411593
ดูเพิ่มเติมคลิป(เรื่องเล่า อาจารย์ยอด ) : หลวงปู่โง่น โสรโย(อาจารย์ยอด ทำคลิปยอดนิยมคนติดตามเรื่องเล่าเรื่องอาธรรพ์ ผี ฯลฯ ด้วย)
แผนที่ไตรภูมิ พิจิตร และวัด(1)

(ภาพประกอบไตรภูมิฉบับธนบุรี ตำแหน่งพิษณุโลกต่างจากฉบับกรุงศรีอยุธยา และภาพวัดดงป่าคำ พร้อมบรรยากาศรอบแถวนั้น)
**ผมได้ไอเดียมาต่อยอดเขียน ที่มาจาก On Collective Memory, by Maurice Halbwachs ยุคดิจิตอลนี้ดาวน์โหลดได้ทางเน็ตไม่ต้องสะสมสิ่งพิมพ์เอกสารนี้แบบผมที่โพสต์ในเฟซฯโชว์หนังสือก็ได้(ญาติเห็นผมแบกหนังสือและเอกสารต่างๆมาด้วยจากการเดินทางหนังสือ แซวว่าระวังปลวก)
ลิ๊งค์ที่ให้ดาวน์โหลดไม่ครบทุกหน้า
https://www.sfu.ca/cmns/courses/2012/487/1-Extra%20Readings/HalbwachsOnCollective%20Memory.pdf
On Collective Memoryบอกเล่าเนื้อหาในสารบัญ
http://press.uchicago.edu/ucp/books/book/chicago/O/bo3619875.html
***ช่วงของชีวิตที่ต้องอ่านหนังสือหลายเล่ม บางครั้งก็เปลี่ยนอารมณ์หยิบหนังสือเก่าๆ มาเล่าใหม่ และคิดถึงธรรมะผ่าน“คติเกี่ยวกับการเวียนว่าย-ตาย-แล้วเกิดเป็นคน” นี่เป็นการทบทวนความทรงจำ พอดีได้ฝีกภาษาอังกฤษText เกี่ยวกับความทรงจำกับประวัติศาสตร์ (*ฯลฯ)
History & Memory
https://muse.jhu.edu/journal/71
History & Memory
http://www.iupress.indiana.edu/pages.php?pID=80&CDpath=4
History, memory, identity
http://journals.sagepub.com/…/pdf/10.1177/095269519801100303
Memory and History: Understanding Memory as Source and Subject
http://www.history.ac.uk/reviews/review/1470
History & Memory is a peer-reviewed academic journal covering the study of historical consciousness and collective memory. It is edited by Gadi Algazi (Tel Aviv University) and published biannually by Indiana University Press.
https://en.wikipedia.org/wiki/History_%26_Memory
Center for the Study of History and Memory
http://www.indiana.edu/~cshm/
ดูที่ผมเขียนแล้ว

การสะสมความทรงจำ ผ่านหอภาพยนตร์ มามหา’ลัย
19.2

19.2
การสะสมความทรงจำ
ตอนกลับบ้านพิจิตร ทำบุญ(ตามรูปตามกฏแห่งกรรมโชคชะตา) ก่อนขึ้นรถทัวร์ญาติพาไปที่พิษณุโลก ณ ร้านก๋วยเตี่ยวรัฐมนตรี บรรยากาศร้านแต่งดูเก่า มีรูปลงนสพ.เสธสนั่น ขจรฯ รมต.จากพิจิตร มากินด้วย แนะนำที่กินอาหาร กรณีที่ย้อนคิดพินิจเรียนมาจบ ทำงานรุ่นพี่บางคน จบศิลปะก็ขายก๋วยเตี๋ยวก็มีแบบนี้(เหตุผลหนึ่งที่ผมไม่อยากเรียนต่อป.โท ป.เอก เล่ามาบางด้านเปรียบกับฝรั่งบอกเรียนปวศ.คิดวิเคราะห์ฯลฯแล้วไม่มีเวลาเขียนยาว) เชื่อมโยงกับเรื่องทำงานภาพร้านก๋วยเตี๋ยว ต่อเนื่องเรื่องเกม หรือการละเล่น(Game*) สะท้อนโลกทัศน์ไทย แต่ผมเล่าเรื่องบอร์ดเกม แตกต่างจากโลกทัศน์ไทยดังกล่าวทางแนวคิดด้วย โลกมีเกม เตตริส (Tetris) เกมต่อบล็อก ตัวเกมออกแบบโดยโปรแกรมเมอร์ชาวรัสเซียชื่อ Alexey Pajitnov เปิดตัวครั้งแรกในปี 1984 ก่อน Nintendo จะซื้อลิขสิทธิ์และนำไปพัฒนาลง Game Boy มีเกมส์จับผิดภาพ(***) และผมคิดออกแบบเกมส์จับความเหมือนและความต่าง ภาพไตรภูมิปริศนา โดยสาระวิชาการ ต่อมาผมอยากพัฒนาไปไอเดียไกลกว่าภาพเดิม เพิ่มเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต ใส่เนื้อเรื่องเป็นเกมให้มากกว่านี้อีก เพียงข้อจำกัดด้านเวลา จากดูหนังบนรถทัวร์ระหว่างทางกลับบ้านเรื่อง THE WARRIORS GATE (2016) นักรบทะลุประตูมหัศจรรย์
(****)พระเอกใช้ประโยชน์จากเนื้อเรื่องข้ามเวลา มาสร้างเกมส์ทางเน็ตต่อสู้ และนางเอก ก็ชอบกินไอติม ข้ามประเทศมาเที่ยวเต้น ข้ามเวลา ซึ่งความคิดด้านเนื้อเรื่องสำหรับสร้างหนังสั้นแต่งบทหนังสั้น(*****)แนวหนังอิงประวัติศาสตร์มาถึงอย่างที่เขียนไว้ในเฟซฯ ด้วย
*นิทานพื้นบ้าน เพลง สุภาษิต ในหนังสือกำเนิดสยามจากแผนที่(SIAM MAPPED)ฯ ตามภาพไตรภูมิฉบับกรุงศรีอยุธยาและธนบุรี สะท้อนโลกาภิวัตน์ของอาเซียน ผ่านแผนที่เปรียบเทียบนึกภาพสมัยใหม่
**ผมเล่าเรื่องบอร์ดเกม

บางคนที่เรียนจบป.ตรี ร่วมทำหนังสั้น ทำเกมส่งเป็นตัวจบตอนเรียนด้านนี้ เพื่อนที่เรียนไม่จบป.ตรี ร่วมทำหนังสั้น และเขาขยันทำเกมสโดยโปรแกรมอินเตอร์เน็ต บ้าง
***เกมจับผิดภาพ
http://www.gamesforthebrain.com/thai/counterfeit/
****THE WARRIORS GATE (2016) นักรบทะลุประตูมหัศจรรย์
https://www.newmovie-hd.com/the-warriors-gate-%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9A%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%95%E0%B8%B9%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B1%E0%B8%A8/
*****การสะสมความทรงจำ นครหลวง นครราชสีมา นครปฐม นนทบุรี
พัฒนาการทางวัฒนธรรมก่อนสมัยสุโขทัยในจังหวัดพิจิตร
https://docs.google.com/file/d/0B7m3dhPT8076TmNwa0RoYWF1c0k/edit
22 มิถุนา
การสะสมความทรงจำ
หลายเรื่องราวทั้งติดต่อหานักแสดง ซึ่งผมกำลังคิดเขียนบทหนังสั้น—แม่บ้าน—
เรื่องย่อ
บอล อยู่หอพักห้องเช่า ได้รู้จักกับแม่บ้าน วัยรุ่นข้างห้อง โดยบี ทำงานเป็นแม่บ้าน ทำงานประจำในหมู่บ้านจัดสรร และรับงานเสริมทั้งบ้านฝรั่งผิวขาวผิวดำ ซึ่งแม่ของบี ก็เป็นแม่บ้าน ที่เกสต์เฮาส์ ฝรั่งแห่งหนึ่ง เล่าเรื่องความยากลำบากของการทำงานแม่บ้าน และแลกเปลี่ยนปัญหาชีวิตกับบอล รับฟังเรื่องราวของสองคน ผลัดกันเล่าเรื่องคนหนึ่งบอกอีกคน ไม่รู้ความจริงกันแน่
เมื่อนานๆ ไปบอลเริ่มเข้าใจรับรู้แม่บ้านนามว่า บัว แม่ของบี อ่านหนังสือไม่ออกจริงๆไม่เข้าโรงเรียนตามปกติ และปัญหาครอบครัว นี้เข้ามาพัวพันกับบอล เห็นทะเลาะกันบ่อยๆ ตัดสินใจพาทั้งสองคนไปพบจิตแพทย์ที่โรงพยาบาล
😎🤔😀
ตอนก่อนโน้นประกวดหนังสั้นโจทย์เกี่ยวกับจิตแพทย์ ตอนนี้ก็มีอะไรเกี่ยวกับจิตแพทย์ อ่ะครับ

24 มิถุนา
การสะสมความทรงจำ
วันนี้วันที่ 24 มิถุนา เวียนมาบรรจบครบอีกรอบทบทวนประเด็นความทรงจำเคยเขียนเรื่อง24 มิถุนาไว้ตามภาพเฟซฯช่วยรำลึกพร้อมรูปหนังสือเกี่ยวกับ24 มิถุนา 2475 (เขียนย่อๆรูปดังกล่าวกับหนังสือนิยาย 1984) หลังจากหมุดคณะราษฎร ที่หายไป เปิดประเด็นใหม่พร้อมกล่าวซ้ำในฐานะหลักฐานประวัติศาสตร์ความทรงจำ โดยมุมมองแบบรากฐานประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เคยมีอำนาจนำอยู่ที่ตัวบุคคล ซึ่งผมยกตัวอย่างสั้นๆ คนๆหนึ่งสังกัดมูลนายเป็นอันดับแรกก่อนสังกัดรัฐ(ดูหนังสือกำเนิดสยามจากแผนที่) ต่อมาเล่าจะยาวฝรั่งมาแล้วถกเถียงคนสังกัดมูลนายกับลาวของฝรั่งเศสจะกลายเป็นไทย
เมื่ออยู่ฝั่งไทย (ในเรื่องสำมะโนประชากรฯลฯ) เป็นต้น นี่แหละก่อนการสร้างตัวตนความทรงจำแผนที่ จากการดำเนินการขยายสามเหลี่ยม จากเชียงใหม่ให้มาบรรจบกับงานขยายสามเหลี่ยมของอังกฤษ และได้ทำการสำรวจทางเชียงของ จนถึงหลวงพระบาง และการลากผ่านมาถึงกรุงเทพฯ(กรณีภูเขาทองฯลฯ) โดยการปักหมุดเป็นสัญลักษณ์คล้ายแผนที่ตรงจุดหมุดคณะราษฎรอย่างที่ผมเคยเล่าข้อถกเถียงไปแล้ว(*)
โดยยกตัวอย่างการใช้ภูมิศาสตร์กำหนดสัญชาติจากสยามเป็นไทย ในวิธีวิทยาอุปมาของความทรงจำดังกล่าว โดยผมจะเล่าเรื่องตัวตนเปรียบเทียบไม่ยาวนัก คือ กรณีการให้ความสำคัญกับผู้นำ(Personalism) ได้ยกตัวอย่างมาบ้างแล้ว(**) ขอขยายความกรณีเหมาเจ๋อตงของจีน เจียงไคเชคของไต้หวัน คิมอิลซุงของเกาหลีเหนือ โฮจิมินห์ของเวียดนาม ลีกวนยูของสิงคโปร์ เจ้านโรดมสีหนุของกัมพูชา มาร์คอสของฟิลิปปินส์ เนห์และอินทรา คานธีของอินเดีย เนวินของพม่า(น่านับอองซานพ่ออองซานซูจี) ฯลฯ
เมื่อผมยกตัวอย่างย้อนกลับมามองไทย คณะราษฎร ผู้สร้างหมุดอย่างพระยาพหลฯ(***) ต่อมามีพลังบทบาทไม่เท่าปรีดี พนมยงค์(เคยลี้ภัยไปจีนเจอเหมาฯลฯ) ในยุค14 ตุลา และหลังจากนั้นมาหลังยุคพฤษภา 35 ก็มีการรื้อฟื้นเป็นภาพลักษณ์ดังกล่าวมาแล้วโดยพรรคประชาธิปัตย์ด้วยซ้ำอย่างที่ผมเล่าไปแล้ว
ดังนั้น ผมเขียนโฟกัสสั้นๆ กรณี24 มิถุนา ปรีดี พนมยงค์ ตัวแทนภาพสะท้อนน่าสนใจต่อประเด็นการสะสมความทรงจำ กลุ่มเสื้อแดง มีกล่าวถึง24 มิถุนา แต่กลุ่มเสื้อเหลือง พันธมิตร-กปปส.(พรรคประชาธิปัตย์) ใช้สัญลักษณ์ของ14 ตุลา ฯลฯ (พรรคประชาธิปัตย์) มีข้อสังเกตว่าไม่น่าจะมีเรื่อง24 มิถุนา และปรีดีอีกแล้ว เพราะผมสนใจเรื่องการถูกลบความทรงจำ ยกตัวอย่างงานศึกษาสังคมจำอย่างไร(****)ที่อ้างนิยาย 1984 ที่มีการลบความทรงจำ ในแง่นี้การเปรียบเปรยอุปมาความทรงจำกับสัญลักษณ์หมุดคณะราษฎร หายไปเพื่อให้ลบความทรงจำ ตามภาพสติ๊กเกอร์กปปส.ถูกลบไปครึ่งหนึ่งบนประตูโรงแรม(*****)แห่งหนึ่ง
อย่างไรก็ตาม ผมได้เน้นย้ำไทยแลนด์ ในเรื่องพรรคการเมืองไม่ว่าจะการออกแบบรัฐธรรมนูญ ส่งผลกระทบต่อพรรคอย่างที่กล่าวกันมาก่อนหน้าแล้ว ในกระแสอาเซียน โลกาภิวัตน์มาแล้วทางออกของปัญหาอยู่ที่ประชาชน โดยเฉพาะเจาะจงประเด็นพินิจวิเคราะห์จากหลายข่าว ยกตัวอย่างข่าวใหญ่ในหลายข่าว คือ ข่าวผู้ต้องหาคดีวางระเบิด รพ.พระมงกุฎ ถูกส่งตัวให้ ตร. หลังถูกทหารคุมตัว 6 วัน(******) ภาพสะท้อนเชื่อมโยงภาพนาฬิการูปทักษิณของประเด็นนี้ผมไม่วิเคราะห์เรื่องแพะ แต่ผมได้กระแสข่าวเรื่องระเบิด ที่จะเกิดขึ้น จะมีระเบิดอีก แล้วผมไม่เกี่ยวกับเรื่องพวกนี้ หวังว่ากระแสข่าวเพียงเป็นเรื่องอย่างนิยาย หรือหนังในสังคมไทย แต่ความจริงทางการเมืองอยู่กับประชาชนหรือราษฎร ในสถานการณ์อย่างน่าติดตามการเมืองไทยปัจจุบัน
*“การสะสมความทรงจำ อำนาจนำของแผนที่ ใน Late Capitalism”
**การสะสมความทรงจำ การสะสมสื่อสิ่งพิมพ์

ประเด็นประชาธิปไตยแบบเอเชีย ที่ผมเล่าย่อๆ ยกตัวอย่างเพิ่มมีทั้งเรื่องสิทธิอำนาจ(Authority)ต่างๆ
***อรรคพล สาตุ้ม 24 มิถุนากับพระยาพหลพลพยุหเสนา ในฐานะทหาร และลูกชาย ที่ชื่อประชาธิปไตย
https://prachatai.com/journal/2010/06/30104
(ข้อสังเกตปัจจุบันทหารที่ถูกเรียกว่าลุง คือ ลุงตู่)
การสะสมความทรงจำ : หมุดคณะราษฏร(จำลอง)ในพิพิธภัณฑ์แรงงานไทย
รำลึก24 มิถุนา 2016

(ภาพประกอบเล่าเรื่องพระยาพหลต้นคิด หลวงประดิษฐ์ต้นเรื่อง โค่นอำนาจพระราชา ปล่อยหมูปล่อยหมามานั่งเมือง)
“การสะสมความทรงจำ อำนาจ ผู้นำ ใน Late Capitalism”
****How societies remember โดยPaul connerton กล่าวถึงงานเขียนของมาร์แซล พรูตส์ ผู้เขียนในการค้นหาเวลาที่หายไป
https://www.sfu.ca/cmns/courses/2012/487/1-Extra%20Readings/ConnertonSocialMemory.pdf
อรรคพล สาตุ้ม ปัญหารัฐธรรมนูญ 2550: นิยายและความจริง ในภาพสะท้อนเราใกล้ชิดเส้นชัย
(คล้ายนิยาย1984 ถ้าคนเคยอ่านนิยาย ที่มีBig Brother:พี่เบิ้ม ทำให้เขาหรือเรารักพี่เบิ้ม)
http://akkaphon.blogspot.com/2011/01/2550_02.html
*****ว่าด้วยการเมือง ผ่านเส้นทางท่าพระจันทร์ ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยาไปท่าวังหลัง

การสะสมความทรงจำ การสะสมอาวุธคือการศึกษา

(ผมได้เขียนถึงอ.เสกสรรค์ และธรรมศาสตร์สะท้อนปรีดีมาแล้ว)
การสะสมความทรงจำ การสะสมอาวุธ คือ การศึกษา

******ผู้ต้องหาคดีวางระเบิด รพ.พระมงกุฎ ถูกส่งตัวให้ ตร. หลังถูกทหารคุมตัว 6 วัน
https://prachatai.com/journal/2017/06/72035

27 มิถุนา
“การสะสมความทรงจำว่าด้วยการศึกษา”(จบ)
วันนี้วันที่27 มิถุนา วันก่อตั้งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง…มหาวิทยาลัยย่อมอุปมา ประดุจบ่อน้ำ บำบัดความกระหายของราษฎร ผู้สมัครแสวงหาความรู้…(คำคมเกี่ยวกับมหาลัยดังกล่าวอ้างแล้ว) เมื่อผมจะเขียนเรื่องการศึกษาต่อ จะยาว ไม่อยากเล่าย้อนไปตอนป.ตรี โดยบางด้านเล่าหลังจบการศึกษามาบ้าง บางคนขายก๋วยเตี๋ยว(*) มีศิลปินไทย ทำผัดไทย ภาพสะท้อนศิลปะกินได้(นึกภาพคำขวัญประชาธิปไตยกินได้) โดยตอนสอบป.โท ภูมิภาคศึกษา(Regional Studies) จำได้ก่อนสัมภาษณ์ มีรุ่นพี่ผู้หญิงแก่กว่าเขาจบโท.จากอเมริกา ถ้าจำไม่ผิดจะเรียนป.โท สาขานี้เพิ่มอีกใบ ก่อนเข้าห้องสอบสัมภาษณ์เค้าเล่าว่า การศึกษาในอเมริกา คนไม่ค่อยเรียนป.โท ป.เอก กันหรอก(ก็มาทบทวนความจำหลายคน หรือข้อมูลบอกอย่างนั้น) คนที่เรียนจบป.เอก บางคนขายกาแฟอยู่หน้ามหา’ลัยอย่างมีความสุขก็มีด้วย(ถ้าจบศิลปะคงเผยแพร่ศิลปะผ่านกาแฟร้านกาแฟอาร์ต) หลายปีต่อมาผมเคยเล่าเรื่องนี้ให้หลายคนฟังละมั้ง บางคนบอกแล้วจะเรียนจบไปทำไมตั้งป.เอก
โดยผมไม่ค่อยมีเวลาเขียนย้อนกลับมาเล่าทบทวนเรื่องการศึกษาต่อตอนที่ 2 ผมเพิ่งคิดได้การเขียนเล่าเรื่องอยากศึกษาต่อ ต้องผ่านเล่าเรื่องเชิงเปรียบเทียบ(**) อีกมุมต้องเล่าเรื่องหลังเรียนจบด้วยสักหน่อย ผมเคยเจอชวน หลีกภัย ที่น่าน ตอนไปทำงานที่นั่น ณ สนามบิน น่าน ในห้องน้ำ ผมได้คุยอยู่หน่อยตอนยืนฉี่เขาถามผมจบที่ไหน ทำงานอะไร ผมตอบจบวิจิตรศิลป์ มช. ทำงานเกี่ยวกับผู้ช่วยวิจัยเรื่องศิลปะฯลฯ เขาพูดว่าเขาร่วมสร้างหอศิลป์ฯมช. อย่างที่ผมเคยเล่าว่าเขาจบเกี่ยวกับศิลปะด้วย(***) ซึ่งผมเขียนมาเปรียบเทียบกับเรื่องการเรียนประวัติศาสตร์ แล้วได้ความคิดวิเคราะห์(****) ในอเมริกา ที่เคยเขียนไปแล้ว ขยายความกรณีบารัก โอบาม่า ก่อนลงตำแหน่งประธานาธิบดี ในอเมริกา ไปที่วิสคอนซิน กล่าว “I promise you, folks can make a lot more, potentially, with skilled manufacturing or the trades than they might with an art history degree.” (*****)โดยกล่าวเปรียบเทียบความด้อยค่าการเรียนประวัติศาสตร์ศิลปะ ถ้าผมจะเขียนยาวไป มีสาขาน่าสนใจในมหาลัยโคลัมเบีย ทั้งโบราณคดี ประวัติศาสตร์ แน่ละ ระบบการเรียนส่วนใหญ่ก็ต้องการท่านผู้นำอย่างรัฐบาลสนใจสาขาวิชาไม่ทำเงินให้จบมามีงานทำงานในระบบทุนนิยมดังกล่าว
กรณีสถาบันวัฒนธรรมศึกษา ที่ประธาน สถาบัน มีทักษะการเขียน จิตรกรรม เชี่ยวชาญการวาดภาพทัศนศิลป์ การเมืองฯลฯ และสถาบันแรงงาน และอุตสาหกรรมสัมพันธ์ ในมหาวิทยาลัยPolytechnic ของฟิลิปปินส์ ยังมีกิจกรรมที่เตรียมนักศึกษาจบไปทำงานด้วย(******)
ดังนั้น การเปรียบเทียบการศึกษาในต่างประเทศ และไทย เท่าที่ผมเขียนอย่างย่อๆ มาต่อเนื่องเรื่องความสุขของการเรียนรู้ ความรู้ต่อมนุษย์ของมนุษยศาสตร์(มนุษยธรรม) วัฒนธรรม ความงาม(ศิลปศาสตร์ มีคำนิยามในวิกิพีเดีย ในที่นี้นิยามรักในความรู้ ที่มีหนังเรื่องหนึ่งของอเมริกาเรื่อง Liberal Arts (2012) ) อุดมการณ์ อุดมคติ สร้างทฤษฎี ต่างๆ คำตอบต่อการเลือกเรียนตามการศึกษา ตามเป้าหมายแต่ละคน จะเอวังสั้นๆ ว่าผมไม่อยากไปเรียนที่วิสคอนซิน ไม่ใช่ไม่ตั้งใจไปเรียนแล้วไม่ดี ไม่ทุ่มเททำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับกรัมชี่ หาอาหารอิตาลี เรียนภาษาอิตาลีเพื่อเข้าถึงกรัมชี่(*******) ต้องมีงานทำเป็นอาจารย์(นักวิจัยสถาบันฯลฯ) และอาจารย์ต่างประเทศได้เงินมากกว่าอาจารย์ไทยโดยเปรียบเทียบแค่สิงคโปร์ ตอนที่ผมไปสิงคโปร์ ตามภาพก็ได้ประกาศนียบัตรจากแอนโทนี่ รี้ด(นักปวศ.ด้านอาเซียน********) ซึ่งภาพตอนนั้นหลังนำเสนองานThesisป.โท ก็สร้างสรรค์ผลงาน แต่ไม่ไปเรียนป.เอก(*********) จากตอนที่กล่าวถึงวิสคอนซิน
อย่างไรก็ดี ผมเคยเขียนบทความขนาดยาวในแง่การศึกษาไทย ไว้10กว่าปีก่อน ไม่เคยเผยแพร่ไม่รู้เก็บไว้ไหน…ไฟล์หนึ่ง และไฟล์สองบทความขนาดไม่ยาว เมื่อสักประมาณสามปีก่อนเกี่ยวกับการศึกษา และผมเคยมีรุ่นพี่ทำการศึกษาในฐานะเป็นเครื่องมือในการรักษาเสถียรภาพทางการเมืองของประเทศพหุสังคม : ศึกษาเปรียบเทียบประเทศไทยกับสิงคโปร์ ถ้ายกตัวอย่างเปรียบเทียบทางการศึกษาผมจำดีจากเนื้อหาหนังสือหลายเรื่องได้เป็นปริมาณสู่คุณภาพ อุปมาน้ำสะสมเป็นบึง ปริมาณสู่คุณภาพ ผมไม่มีอุดมคติเท่านศ.มช.ยุค 14 ตุลา(**********) สะสมหนังสืออย่างน่าสนใจ แต่ชีวประวัติผมเป็นเพียงชายคนหนึ่งไม่ใช่ผู้วิเศษ กลัวไม่มีงานหากหลังเรียนจบ.
*การสะสมความทรงจำ
การสะสมความทรงจำ

(ผมเคยเขียนแล้วอ้างถึงประวัติศาสตร์ยังได้ความนิยมในหนังในเกมส์)
**การสะสมความทรงจำ การสะสมอาวุธคือการศึกษา

***การสะสมความทรงจำ การสะสมอาวุธ คือ การศึกษา

****สื่อนอกกระตุ้นให้คนเรียน “ประวัติศาสตร์” ชี้ ช่วยสอนการ “คิดวิเคราะห์”
https://www.silpa-mag.com/club/news/article_733
(ผู้ปกครองอเมริกา ก็คงคล้ายไทย ที่สนับสนุนทุนเรียนไหม? เรียนจบมาแล้วทำงานได้ไหม?)
ผมเคยเขียนบางมุมแล้ว ในการสะสมทุน ความรู้ ความทรงจำ กำลังมวลชน(อุปมาปลา)
http://akkaphon.blogspot.com/2017/03/blog-post.html
***** Obama vs. Art History
https://www.insidehighered.com/news/2014/01/31/obama-becomes-latest-politician-criticize-liberal-arts-discipline
โอบามา จบจากมหา’ลัยโคลัมเบีย ที่มีการสอนSouth Asian Art and Archaeology(ศิลปะเอเชียใต้ และโบราณคดี)
มีผู้สอนเช่นVidya Dehejia(สอนที่เดียวกับJonathan Crary คนเขียน24/7: Late Capitalism and the Ends of Sleepที่ผมเล่าแล้ว)
http://www.columbia.edu/cu/arthistory/faculty/faculty-areas-of-focus.html
Vidya Dehejia เป็นผู้เขียนหนังสือLove in Asian Art and Culture (Asian Art and Culture Unnumbered), Sackler Art Gallery, 1999.
http://www.columbia.edu/cu/arthistory/faculty/Dehejia.html
******การสะสมความทรงจำ

https://www.pup.edu.ph/research/ics/
https://www.pup.edu.ph/research/ilir/
การสะสมความทรงจำ
แผนที่ไตรภูมิ พิจิตร และวัด(จบ)

*******“การสะสมความทรงจำว่าด้วยการศึกษา”(1)

ผมเคยเขียนแล้วดูเพิ่มเติมข้อมูลในวิกิพีเดีย และไฟล์พีดีเอฟ;ตัวตน (Self) ของอ.ธเนศ วงศ์ยานนาวา ที่ทำวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับงานกรัมชี่ คือ Evolving views of “historicism” : Althusser’s criticisms of Gramsci
by Thanes Wongyannava
(งานเขียนเกี่ยวกับกรัมชี่ ที่น่าสนใจเล่มใหม่โดยน้องอ.เบน คือ The Antinomies of Antonio Gramsci – May 9, 2017by Perry Anderson)
อ.ธเนศ ป.โท วิสคอนซิน พ่อเสียเงินไปเยอะต้องกลับไทยทำงาน ต่อมาประวัติว่าเรียนเคมบริดจ์ ตามแฟน เมื่ออ.ธเนศ เป็นอาจารย์เขียนเรื่องการศึกษาที่อ่านยาก ดู ธเนศ วงศ์ยานนาวา องค์รวม/องค์ขาด/องค์อนันต์ เอกสารประกอบการสัมมนาทางวิชาการ “ปรัชญากับการศึกษาในสังคมไทย”คณะศึกษาศาสตร์ มช.1 ธ.ค.2545 http://www.library.polsci.chula.ac.th/dl/6f0cf70b54107a3d686c858a26107ccc
(ความคิดที่คล้ายกันอ่านง่ายกว่าดูไชยันต์ ไชยพร หยิบยกภาษิตโบราณอย่าง “ตาบอดคลำช้าง” อุปมาวิถีเข้าถึงองค์รวมผ่านปรัชญาตะวันตก เพื่อบอกว่าองค์รวมอาจเป็นจริงได้เฉพาะในจินตนาการของมนุษย์เท่านั้น)
อ.ธเนศ เขียนบทความเกี่ยวกับการศึกษาหาความรู้ ดูเพิ่มเติม “ความรู้ต้อง (ไม่) ห้าม: จักรญาณนิยม”
http://v1.midnightuniv.org/midnight2544/0009999453.html
********ดูประวัติAnthony Reid เพิ่มเติม
https://en.wikipedia.org/wiki/Anthony_Reid_(academic)
ดูหนังสือฉบับแปลภาษาไทย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในยุคการค้า ค.ศ. 1450-1680 (เล่ม 2 การขยายตัวและวิกฤติการณ์)
http://trf2.trf.or.th/website_7_001/detail.asp?pid=431&catid=3&page=2
(ภาพประกอบหนังสือของรี้ด ที่มีแผนที่สยามโบราณหรือแผนที่ไตรภูมิ)
*********ผมเป็นคนสมัครงานมากหลายที่คนหนึ่ง ผมเคยสมัครงานเจอลูกศิษย์อ.ธงชัย ที่เขาจบจากม.วิสคอนซิน นั่นแหละจะเขียนแล้วยาว การลงทุน(การศึกษา)มีความเสี่ยง
**********
เส้นทางหมอ…

(ความแตกต่างจากชีวประวัติผมชีวิตมีความย้อนแย้งจากPost colonialism มาถึงยุคของความทรงจำ การเรียนต่อ ในต่างประเทศ วัฒนธรรมยุโรป ตะวันตก แทนที่จะเรียนประเทศตะวันออก กลับคิดจะเรียนตะวันตก)
27.2
เมื่อผมหลายเรื่องราว เข้ามาอัพเดทเพจเครือข่ายแรงงานฯ หลังจากเมื่อวานกับเมื่อวานก่อนออกพื้นที่ ก็ไม่ได้ไปงานบวชญาติที่พิจิตร เสียดายกับพระ วันนี้ดูเฟซฯรำลึกอดีตก้อเห็นอะไรให้ทบทวนดี อากาศเปลี่ยนแปลงบ่อยดูแลสุขภาพ ครับ
27มิถุนา2016

27 มิถุนายน 2016
เมื่อคานธีได้อ่าน Think and Grow Rich ของ ดร.นโปเลียน ฮิลล์ …

(ภาพประกอบท้องฟ้าถ่ายจากเครื่องบิน)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น