วันพฤหัสบดีที่ 7 กรกฎาคม พ.ศ. 2559

บทหนังสั้นปัญญาชนอิมเมจิ้น ,แรงงานไทยเปรียบเทียบเกาหลีใต้ รวมทั้งอังกฤษ

1 มิถุนา

พล็อตหนังสั้นปัญญาชนอิ้มเมจิ้น ภาค2  จัดฉากสมมติ เหมือนสถานที่เกาหลี วันเวลาอนาคต2560  ผู้กำกับปูเสื่อรอ ณ ริมน้ำแห่งหนึ่ง เขานำคนแสดงเป็นนักวิชาการแต่งตัวเป็นพวกแนวฮิปสเตอร์ สวมหมวกดาวแดง นักแสดงแว่นตาหนาเตอะมานั่งอ่านบทความ และบทหนังภาคแรก(*) โอ้ อะไรเนี่ย ผมงงไปหมดแล้วอะไร คือ ความจริงเกิดข้อสงสัย  นี่มันอภิปรัชญา ฮร่าๆ  และแล้ว นักวิชาการถกเถียงอยู่คนเดียวไม่มีผู้คน เอ๊ะ อ.สศจ.หลังพฤษภา 35 แต่ไม่ตอบคำถามทำไมไม่ไปจัดตั้งองค์กรภาคประชาชน
เมื่อชาวบ้านเดินเก็บขวดขยะ คนหนึ่งเดินมาบอกว่า นั่งบ่นอะไร หัวเราะอะไรคนเดียว มัวแต่ตีความโลก อยู่ได้โลกเปลี่ยนไปนานแล้ว
ทันใดนั้น คนแต่งชุดลูกเสือได้เข้ามาร่วมวงพูดขึ้นแล้วเราจะเปลี่ยนแปลงโลกได้ไง?(**) ทำท่าเหมือนจะเป็นเสือร้องไห้ ต่อมาผู้กำกับเดินเข้ามาพูด  คนเขียนบทคิดได้แค่นี้ไม่รู้จะคิดต่อออกมารูปแบบรายการดีเบตทางทีวีไม่มันส์ น่าจะมีพระเอก นางเอก รวมทั้งภาคสามเป็นหนังไตรภาคไหม? อาจจะมีอ.สศจ.ช่วยดีเบตในเฟซฯ(***) จะได้เขียนบทเพิ่มในชุมชนจินตกรรม(****) ที่แน่ๆไปหาเสือร้องไห้ หรือเกาเหลากินดีกว่าฮร่า” จบ.

*ข้อมูลประกอบหนังสั้นๆ ย่อๆ
ลักษณะกระฎุมพีผู้ทรงศีลธรรมและชาตินิยม และลักษณะทุนชาตินิยมเป็นเชื้อมูลของความคิดซ้ายของพวกเขาตั้งแต่ยุคเดือนตุลาเช่นกัน
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1313509602011598&id=100000577118415
ดูเพิ่มเติม บทวิพากษ์ “การเมืองภาคประชาชน” ในประเทศไทย:
ข้อจำกัดของแนววิเคราะห์และยุทธศาสตร์การเมืองฯ...(อ้างงานสำนักอ.สศจ.เป็นผลงานเกี่ยวกับหลังพฤษภา35)เขียนร่วมกับอ.เควิน อ้างคนอื่นๆดูบทความด้วย

คอมเม้นท์วิทยานิพนธ์เก่งกิจโดยอ.สศจโดยอ้างอิงพี่ภัควดี(อ.สศจ.วิจารณ์วิทยานิพนธ์ละเอียดยิบทั้งทฤษฎีและวิจารณ์แรงกว่าบทความ)

เก่งกิจ กิติเรียงลาภ พิชิต ลิขิตกิจสมบูรณ์ สมชัย ภัทรธนานันท์ สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล   จากพฤษภาประชาธรรม ถึงรัฐประหารเพื่อประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข อ่านการต่อสู้ทางชนชั้นในพลวัตการเมืองไทย
(อ.สศจ.นี่ผมเห็นอันดับในนักวิชาการที่กล่าวถึงในปัญญาชนอิมเมจิ้น1-2 ในแง่การวิเคราะห์การเมือง   แต่อ.สศจ.ก็มีจุดอ่อนบางอย่างที่old left พูดนั่นแหละ ที่ชี้ให้เห็นข้อเท็จจริงมีรายละเอียดบางอย่างละเลยขอสั้นๆ เป็นหนังสั้น)
**แจกฟรีหนังสือHow to Change the World

***อธิบายลักษณะตัวละครสมมติย่อๆ :.สศจ.เป็นคนที่ชอบดีเบต(Debate) นักเขียน นักกิจกรรม นักวิชาการ หลายวงการศิลปะฯลฯ บางคนชอบแหย่เพื่อยุให้มาดีเบตบางคนอ.สศจ.เล่าเองว่าวงสนทนาบางคนอยากดีเบตชนะอ.สศจ. ฉะนั้น จะต้องมีคนโวยวายโต้เถียงน่าตลก ด้วย

****ภาพประกอบหนังสือชุมชนจินตกรรมฯ ฉบับเกาหลี และภาพผมเอง ณ เกาหลี

(หนังสือฟรี:ชุมชนจินตกรรมฯ)


 3 มิถุนา

พล็อตหนังสั้น “ปัญญาชนอิมเมจิ้น” ภาค 3   อ.สศจ.ท้าประยุทธ์ดีเบตผ่านโปรแกรมสไกป์ในรายการวันศุกร์แล้วประยุทธ์จัดถกเถียงกับอ.สศจ ซึ่งประยุทธ์ใส่เสื้อแดงยืนถือหนังสือชุมชนจินตกรรมฯ มาร์กซิสม์ไม่ใช่ชาตินิยมจริงหรือ?  ผมรู้เรื่องเศรษฐศาสตร์การเมืองหรือมาร์กซิสม์ ผมอ่านหนังสือเล่มนี้เขียนเกี่ยวกับเกาหลี(*) พวกซ้ายตกต่ำกันเยอะ คุณเปรียบเทียบการเมือง ชาตินิยม โลกาภิวัตน์ กรณีไทยกับเกาหลีใต้ ผมก็เคยอ่านหนังสืออีกเล่ม ที่อธิบายประวัติศาสตร์1980 มาเรื่องเด่น คือ ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม ถึงชาตินิยมพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจของเกาหลี เปรียบเทียบให้เห็นถึงบทบาทของวาทกรรม “เศรษฐกิจพอเพียง” และ เศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง” ในประเทศไทยและประเทศเกาหลีใต้ ซึ่งมีลักษณะคล้ายคลึงกัน โดยในเกาหลีใต้เรียกว่า “minjung” ซึ่งเป็นวาทกรรมทางเลือกกระแสหลักของขบวนการทางสังคมเกาหลีใต้ที่ใช้ต่อต้านกับแนวทางเสรีนิยมใหม่ หนังสือเรื่องความล้มเหลวของสากลนิยม และความเสื่อมของขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม :กรณีเกาหลีใต้ และไทย ชื่อภาษาอังกฤษ“Failed Internationalism and Social Movement Decline:The Cases of South Korea and Thailand(**)คุณไปดาวน์โหลดมาอ่านด้วย
“นี่แหละเราต้องมาแนวเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพึ่งตนเอง” ประยุทธ์กล่าว(คนแสดงเป็นประยุทธ์ยิ้มน้อยยิ้มใหญ่)
“คุณนี้ตรรกะเหตุผลห่วยแตก อ้างไปมั่ว โง่แล้วอวดฉลาด อวดรู้ไปทุกเรื่องอ่านผิดไม่จริง….อ่านหนังสือไม่แตก...ดีเบตไม่ชนะผมหรอก คุณอยากเป็นเหมือนเกาหลีเหนือเหรอ.….”อ.สศจ.พูด
เมื่อนางเอกเดินผ่านเข้ามาหยุดหน้ากล้อง“ ฉันจะได้แสดงตอนไหนหละเนี่ย ภาค3 แล้วตกลงใครเป็นพระเอกกันแน่ ฉันมึนงง” นางเอกบ่น(***)
“คัท” ผู้กำกับ บอกคุยกับทุกคนพอแค่นี้ก่อน “คนเขียนบทไม่รู้จะเขียนอะไรต่อ รอพระเอกไม่รู้คนดูคิดไง  อ.สศจ.นักวิชาการคนดังได้Hegemony มีคนติดตามแฟนคลับเยอะ รอคอมเม้นท์คนดู หรือไม่ก็ผมนี่แหละพระเอก รวมสามภาคเป็นเรื่องเดียวกัน ฮร่าๆ” (จบ.)

*ภาพประกอบส่วนหนึ่งจากหนังสือชุมชนจินตกรรมฯ(รวมทั้งสมุดภาพไตรภูมิภาพเก่าเล่าใหม่ของผม)
**แรงบันดาลใจมาจากเชิงอรรถบทวิพากษ์ “การเมืองภาคประชาชน” ในประเทศไทย:
ข้อจำกัดของแนววิเคราะห์และยุทธศาสตร์การเมืองฯ...
ดูเพิ่มเติม Jim Glassman,Bae-Gyoon Park, and Young-Jin Choi, Failed Internationalism and Social Movement Decline:The Cases of South Korea and Thailand, Critical Asian Studies 403 (2008), pp. 353-9.
(ดาวน์โหลดบทความเต็มฟรี)
http://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/14672710802274110
https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1311368018892423&id=100000577118415
(ภาพบรรยากาศเมืองเพิ่มเติม)



10 มิถุนา

พล็อตหนังสั้นปัญญาชนอิมเมจิ้นภาควันศุกร์นายกฯออกทีวีดีเบตกับอ.สศจ.ปะทะประยุทธ์พูด ผมรู้เรื่องโหวตโน โนโหวต บอยคอต ที่พวกคุณเถียงกันเสียงแตกกันผมรู้หมดแหละ หลายสำนักเสื้อแดงทั้งสำนักอเมริกา(ฯลฯ) ผมรู้ทุกเรื่องรู้ทุกคนใครเป็นใครสายลับผมมีเยอะแยะ องค์กรติดตาม  
ผมปิดล้อมพวกคุณ เหมือนหมากล้อม ที่ผมชอบเล่นหมากล้อม” โดยแปลจากคำว่า ”เหวยฉี” ของจีน “เหวย” ที่แปลว่าการล้อม,ปิดกั้น และ “ฉี” ที่เป็นความหมายของหมากกระดานของจีนนั่นเอง ประเทศญี่ปุ่นเรียก “อิโกะ” ประเทศเกาหลีเรียก “บาดุกแต่ถ้าชื่อที่เป็นทางการของหมากล้อมที่เรียกกันทั่วโลกคือ ”โกะ”(Go) คุณไม่เคยเล่นไม่รู้หรอก
ผมรู้เรื่องศิลปะและวัฒนธรรมMinjung(*)เปรียบเทียบกับศิลปินไทย ที่มีปัญหาแสดงงานที่เกาหลี กวางจู เขาก็เป็นชาตินิยมชอบทำงานศิลปะแผนที่ประเทศไทย  และขบวนการเคลื่อนไหวมินจุง เกิดขึ้นกลางปี1970s ซึ่งมีการเปรียบเทียบกรณีไทย ในSIAM MAPPEDฯ นักศึกษาเป็นคอมมิวนิสต์ ในความหมายเด็กผู้หลงผิดของไทยกับเกาหลีใต้(**) ผมเก่ง ผมรู้โว้ย!
คุณไปอ่านหนังสือเกี่ยวกับกรัมชี่ ที่Joseph V. Femia-Gramsci's Political Thought_ Hegemony, Consciousness, and the Revolutionary Process-Clarendon Press (1987)ผมรู้จักHegemony จะครอบงำผ่านวัฒนธรรมชุมชนด้วย
เมื่อประยุทธ์พูดเสร็จและชูนิ้วกลาง แล้วภาพตัดมาที่อ.สศจ.
ผมก็รู้ทุกเรื่องผมเตรียมดีเบต หาจุดอ่อนของคุณมาหมดแล้ว ผมขอท้าเจอหน้าตัวต่อไปเจอกันที่ทงแดมุน ดีไซน์ พาร์ค แอนด์ พลาซ่า ณ เกาหลี
“คัท” ผู้กำกับเดินเข้ามาบอกเตรียมซ้อมคิวบู๊ไว้ ทั้งบีบคอ ตีเข่า จระเข้ฟาดหาง มันส์ละเว้ยเฮ้ย! พูดเสร็จโดนนางเอกตีหัว “บ้าไปแล้วนอกบทๆ” แล้วตัวละครในภาคสองก็บอกว่า “เห็นด้วย!
“ไม่ตลกเหรอ แหะๆ” ผู้กำกับหัวเราะ
“ผมด้นสดแทนบทที่ดูวิชาการ ไม่รู้คนเขียนบทคิดไง จะเขียนบทความหรือวิทยานิพนธ์เป็นหนังสั้น เหรอ”

ผมอยากให้นางเอกกับผม มีฉากโรแมนติคนิดๆ เพลงประกอบหนังสั้นอย่างเพลงขายแรงแต่งนาง ผมเห็นชาวบ้านแรงงานทำคลิปนำรูปถ่ายง่ายๆมาน่าคิดดูคลิปนี้เอาภาพใส่เพลงคนดูยอดวิวเป็นแสน ครับ พูดเสร็จผู้กำกับเปิดโทรศัพท์มือถือให้ดูคลิป

(จบ)


*วัฒนธรรมมินจุง(Minjung คือ ประชาชนหรือมวลชน)วัฒนธรรมมมินจุง ด้านวรรณกรรม/บทกวี/ละคร/ระบำ/ตีกลอง/เพลง/ รวมทั้งการแสดงออกพื้นบ้าน มาเป็นขบวนการเคลื่อนไหวมินจุง(ปัจจัยสำคัญการพัฒนาจิตสำนึกและเอกลักษณ์ชนชั้นแรงงาน อีกตัวอย่างเรื่อง “ฮัน” จิตสำนึกของความไม่ยุติธรรม)
State and Society in Contemporary Korea
(The State,Minjung, and the Working Class in South Korea by Hagen Koo)

**The Making of Minjung
Democracy and the Politics of Representation in South Korea

(ภาพประกอบไทยลาว ณ แถวเชียงของ เหล่าสหายทำแผนที่)
South Korea's Minjung Movement The Culture and Politics of Dissidence
(อ่านอ.เบนกับวัฒนธรรมเกาหลีฯ)

ผมเคยเล่าผลงานเขียนของตัวเองในอดีตที่อธิบายถึงการเชื่อมโยงเพลงลูกทุ่งเป็นห้วงยามย้ายถิ่นฐานเข้ากรุงเทพฯ หรือการพลัดพรากจากพี่น้องลาวฝั่งเหนือของแม่น้ำโขง และมองย้อนกลับเพลงลูกทุ่งอาจจะเป็นเสียงสะท้อนวรรณกรรรมสยามอย่างนิราศ….โดยผมเชื่อมโยงกับงานศิลปะและหนังเปรียบเทียบกับเกาหลีใต้เพิ่มเติมในหนังปัญญาชนอิมเมจิ้น ครับ

แจกฟรีJames Mitchell,Red and Yellow songs : a historical analysis of the use of music by the united front for Democracy against Dictatorship(UDD)and the people’s Alliance for Democracy(PAD) in Thailand”,South East Asia Research 19:3,p.482

แจกฟรีของอ.ธงชัย"The Others Within: Travel and Ethno-Spatial Diffferentiation of Siamese Subjects 1885-1910(ต้นแบบที่บทความเพลงลูกทุ่งอ้าง มีแปลไทยของสนพ.ฟ้าเดียวกัน)

บทความเพลงรอรักวันแรงงาน
http://akkaphon.blogspot.com/2014/07/blog-post.html
FROM NIRAT TO ROAD MOVIE: HOMESICKNESS AS SPATIAL AND CULTURAL LOGIC
(Itinerant Cinema: The Social Surrealism of Apichatpong Weerasethakul )
ภาพประกอบเกี่ยวกับศิลปะมินจุง+ภาพผม ณ ทงแดมุน ดีไซน์ พาร์ค แอนด์ พลาซ่า” (Dongdaemun Design Plaza & Park - DDP) รวมทั้งผมฟังสาวเกาหลีพูดแรงงานเกาหลีปีที่แล้ว(ผมถ่ายเป็นคลิปไว้) ครับ
อ่านบทภาค3ได้ ครับ

17 มิถุนา

พล็อตหนังสั้น ปัญญาชนอิมเมจิ้น ภาค 5(อวสานประยุทธ์) รายการคืนความสุขฉายภาพประยุทธ์กับอ.สศจ เปิดฉากประยุทธ์ด่าทำท่าจะต่อย อ.สศจ.โชว์กระโดดถีบ ประยุทธ์ล้มลง อ.สศจ.กระทืบซ้ำพร้อมด่า ไอ้animal “คัท” เสียงนางเอกสั่งคัท
“ไอ้ผู้กำกับบ้า ทำไมหนังกลายเป็นบทโหด ที่มีสาระหายไป บทให้อ.สศจ.ดีเบต พูดไปอยู่ไหน!
นางเอก เดินมาคุยหน้ากล้องถือบทให้ผู้กำกับดู และผู้กำกับถือบท
“มึนจุงเบย ผมเปลี่ยนบทเลยเพิ่มฉากบู๊ ไปแล้วสาระวิชาการหรือบทอะไรน่ะ ออกแนวสันติวิธี”

ด้านความรู้ผมก็รู้ดี ทั้งเรื่องแผนที่สยาม(*) ความเป็นชาตินิยม การเกิดชาติ รวมล้านนา เชียงราย เชียงแสน เชียงของ เชียงใหม่ เชียงตุง แยกรัฐฉานออกไป หรือกรณีกบฏเงี้ยว(ไทใหญ่) รายละเอียดอีกเยอะ  ผมจะเล่าต่อมาผสมพันธุ์สู่วัฒนธรรมชุมชน+เศรษฐกิจชุมชน(อนาธิปไตยนิยม**) หลังป่าแตกเป็นชุมชนนิยม ชุมชนท้องถิ่นนิยม ชาติพันธุ์นิยม (ฯลฯ) ในรัฐชาติ ต่อมาปี48-49 พธม.ชาตินิยม สู่กปปส.57 แล้วการครอบงำคนในชาติ 59-60หรือนานกว่านั้นก็ได้ (พวกประเภทชุมชนชาวบ้านเสื้อแดง ต่างประเทศฯลฯ) ผมก็รู้จักกรัมชี่เนี่ย หรือนักกิจกรรมเกาหลีเคยรับยุทธศาสตร์กรัมชี่แบบ War of position ผมก็ใช้ยุทธศาสตร์แบบกรัมชี่(การครอบงำทางอำนาจ/Hegemonic power) โอ้โห ที่ประยุทธ์โม้อวดภูมิปัญญาเหมือนปัญญาชน(***)พูด ผมอ่านแล้วเบื่อเลยเปลี่ยนหมดไม่รู้ต้องใส่ภาพประกอบบทความ(****) หรือไม่เนี่ย

“นี่ยังไม่หมด ประวัติศาสตร์พัฒนาการก่อตัวของชนชั้นแรงงาน พรรคการเมืองมีบทบาทในยุโรป อเมริกาอย่างพรรคrepublican ช่วยแรงงาน มีเปรียบเทียบเกาหลีใต้ ที่มีชุมชนนักวิชาการปัญญาชน ร่วมกับขบวนการแรงงานขบวนการทางสังคม รวมทั้งขบวนการมินจุง ที่มีพัฒนากลายเป็นการเมืองของขบวนการประชาธิปไตย ต่อมากระแสโลกาภิวัตน์

เนื่องจากการวิเคราะห์หลายปัจจัย ที่มีนักวิเคราะห์ประเมินทั้งแง่ดีแง่ร้ายการเปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย การล้มเหลวของขบวนการแรงงานทางพื้นที่การเมือง และการกระบวนการกลายเป็นประชาธิปไตย ทำให้แบ่งแยกการต่อสู้ชนชั้นของแรงงานงานออกจากขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมืองและสังคม  ทั้งปัจจัยยุทธศาสตร์บริษัทใหม่ และไม่ได้ถูกปกครองจากทหารขาดศัตรูร่วม(ทหารอำนาจนิยมไปกับทุนนิยม) นี่คล้ายคลึงปัจจัยกับไทย”
“โอ้ ยาวไปๆ  ให้คนดูไปอ่านหนังสือแรงงานเกาหลี(*****)”

“มันจะสลับซับซ้อนเรื่องมวลชนจากมินจุงไปไกลถึงอเมริกา เดี๋ยวกลายเป็นตั้งเวทีปราศรัยหาเสียงกัน ไม่เป็นบทหนังสนุกๆ ฮร่าๆ”
นางเอกพูดแล้วบทพูดของฉัน กับพระเอก หล่ะ ไม่มีแล้วเหมือนกัน555 ผมชอบด้นบทสดๆ บทพูดนางเอกกับพระเอกแค่นี้ก่อน อวสานประยุทธ์ไม่ใช่อวสานหงสา พม่า ฮร่าๆ อาจจะมีภาคต่อผมจะให้ประยุทธ์เตรียมแต่งเพลงสำหรับหาเสียงลงเลือกตั้ง เพราะเขาชอบแต่งเพลง เหม่จะสู้ฮิลลารี คลินตัน,ทรัมพ์,เบอร์นี แซนเดอร์ส(ออกซ้ายๆนี่มีคนทำเป็นปกอัลบั้มวงRage again machine ) ถ้าประยุทธ์ภาคหาเสียงผมจะใส่เพลงของวงนี้
ส่วนบทของพวกเรา ก็คล้ายกับบทเรื่องชีวิตเพื่อชาติ รักนี้เพื่อเธอ ( Descendants of the Sunเป็นละครโทรทัศน์สัญชาติเกาหลีใต้ ที่ประยุทธ์ว่าเป็นละครโทรทัศน์ที่ดี ปลุกจิตสำนึกให้คนรักชาติ และอาจจะมีเรื่องประยุทธ์กับพระมหาชนก สาธุ ธัมมชัยโย ครับ (จบ)

*SIAM MAPPEDกับเรื่องมินจุง รวมทั้งภาพแผนที่อื่นๆ
**ความรู้เกี่ยวกับอนาธิปไตย
แนวคิดเศรษฐกิจชุมชนในปัจจุบัน
http://www.baanjomyut.com/library_2/economic_community/12_8.html
งานเขียนของอนาธิปไตยอย่างJAMES C. SCOTTเขียนเกี่ยวกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งไทย
The Art of Not Being Governed: An Anarchist History of Upland Southeast Asia


หนังสือแจกฟรีของJAMES C. SCOTT(หน้าปกเกาหลีผมเดาว่าคล้ายกระดานหมากล้อม)
Seeing Like a State: How Certain Schemes to Improve the Human Condition Have Failed

หน้าปกหนังสืออนาธิปไตยฯ โดยอ.เบน พร้อมภาพประกอบจากหนังสือชุมชนจินตกรรมฯ บริบทเกาหลี+ญี่ปุ่น และหนังสือนอกจากภาษาเกาหลี

***สัมฤทธิผลนิยม (Pragmatism) ของปัญญาชนไทยกับการรัฐประหาร 19 .. 2549
เริ่มต้นประชาธิปไตยแบบภูมิปัญญาไทยหรืออภิชนาธิปไตยขบวนสุดท้าย (ฉบับสมบูรณ์)
บทความเหล่านี้มีรวมเล่มแล้ว หรือดาวน์โหลดบางบทความฟรี ตามลิ๊งค์ ครับ
http://www.pichao.byethost3.com/smf1.1/index.php?topic=829.0&ckattempt=2
http://wisc.academia.edu/ThongchaiWinichakul


****ภาพประกอบจากบทความFailed Internationalism and Social Movement Decline:The Cases of South Korea and Thailand

กรณี ภาพแผนที่ในลูกโลกการรวมตัวของWSF(สมัชชาสังคมโลก) ทั้งกลุ่มเครือข่ายแรงงาน ชาวนาฯลฯ และต่อมาภาพเอ็นจีโอ เกาหลีไปประท้วงWTO ที่ฮ่องกง(2548) ซึ่งตอนนั้นเอ็นจีโอไทย(ฯลฯ)ก็ไปด้วย เปรียบเทียบกับการเคลื่อนไหวทางสังคมของไทย ทั้งพรรคการเมือง แรงงาน ชาวนา(ไทย เคยอยากจัดWSFแต่ลดเป็นสมัชชาสังคมไทยหรือTSFในปี2549)ภาพประกอบผมกับแผนที่สยามกับสมุดภาพไตรภูมิฯลฯ ที่เขียนมาต่อเนื่องด้วยครับ

Jim Glassman,Bae-Gyoon Park, and Young-Jin Choi, “Failed Internationalism and Social Movement Decline:The Cases of South Korea and Thailand,” Critical Asian Studies 40, 3 (2008)

http://www.tandfonline.com/doi/abs/10.1080/14672710802274110

http://www.ftawatch.org/node/7076

http://prachatai.com/journal/2005/12/6785

 

 

*****สรุปไอเดียที่มาพัฒนาการปวศ.มาถึงบทชนชั้นแรงงานบนทางแพร่ง(The Working Class at the Crossroads)ในแรงงานเกาหลี วัฒนธรรมและการเมืองว่าด้วยการก่อตัวทางชนชั้น ซึ่งฉบับแปลไทยมีให้หาอ่านได้ มีข้อสังเกตแปลILO คือ องค์กรระหว่างประเทศ และภาพประกอบเด็กสาวจากชนบทเข้ามาทำงานโรงงานฯ ในหนังสือถือเป็นการรีวิวสั้นๆ ครับ

 (ภาพประกอบผมเอง ณ เกาหลีใต้ รวมทั้งหน้าปกหนังสือชุมชนจินตกรรมฯสองแบบ)

ลิ๊งค์บทหนังสั้นภาค4

https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1321883961174162&id=100000577118415


24 มิถุนา
24.1
รำลึก24 มิถุนา พร้อมภาพประกอบการ์ตูน หมุดคณะราษฎร(มรดกคณะราษฎรปัก ณ หน้าลานพระบรมรูปทรงม้าร.5 มรดกสู่ร.6และร.7) แผนที่ และเหตุการณ์ ซึ่งข้อสังเกตผมจากเขียนเรื่อง24 มิถุนา มาหลายครั้งค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อเขียนบทความในเว็บข่าวประชาไท อยู่หลายปี ได้เห็นว่ามีกระแสรำลึกเพิ่มขึ้น รวมทั้งการเขียนบทความมาจากค้นเอกสาร,ทำวิทยานิพนธ์ต่างๆ ที่มีข้อมูลใหม่ (รวมทั้งการตีความใหม่ ที่มีเผยแพร่กันด้วย*)
*ดูงานพวกนี้จากสนพ.ศิลปวัฒนธรรม(ฯลฯ) ส่วนตัวผมทำงานได้เงินจากเขียนบทความในประชาไทไม่ได้ตังค์ ก็หยุดไป(ฯลฯ) แต่ทุกปีก็หาพล็อตปวศ.ใหม่ๆ หรือประเด็นๆ ไม่ยาวนัก ก็สั้นไว้ทั้งศิลปะ ภาพยนตร์(กลุ่มรศ.130กับนสพ.) กีฬา สำหรับเขียนสั้นๆ เผื่อมีโอกาสช่องทางมีทุนก็ทำงานขยายต่อไป
(เพลงชาติปัจจุบันยังกล่าวได้ว่าเป็นมรดกของ 2475 โดยตรงด้วย)
(งานเขียนดังกล่าวเกี่ยวกับ24 มิถุนาหาได้ในประชาไท ค้นทางเน็ต ครับ)
ภาพประกอบจากวิทยานิพนธ์Contested Nationalism and the 1932 Overthrow of the Absolute Monarchy in Siam
ภาพจากเว็บไซด์



24.2
พล็อตหนังสั้น “ปัญญาชนอิมเมจิ้น”(อวสาน/อวตาร/HBD)นางเอก พระเอก(ผกก.) ประยุทธ์ อ.สศจ. เต้นท่ากัมนัมสไตล์  พวกเราเป็นไทยสไตล์ ทั้งผองเพื่อนรัก กันๆ “โอวววว์ เนวัดดาว เน็ตไอดอล ไอๆ  อวสานโลกไม่สวย ฮี้ๆ ฮี่ๆ ขี่ม้า มา เราเกิดมาทำไม อะไรคือเป้าหมายชีวิต"(เต้นพร้อมร้องเพลง)

  “คัท” ไม่ต้องต่อยกัน ไม่ต้องถือมีดแทงกัน แล้วที่บทคนเขียนให้จับปลามาตั้งชื่ออุปมาเป็นประยุทธ์เชือดก็ไม่เอาแล้วเปลี่ยนบท เดี๋ยวประยุทธ์เดินเข้ามาหาอ.สศจ ผู้กำกับบอกบท

ผมอวยพรวันคล้ายวันเกิดให้คุณ ย้อนหลังเกิดวันที่22 มิ..นี้ แล้ววันนี้ 24 มิย.เป็นวันชาติไทยในอดีต คุณรู้ใช่ไหม? ทั้งเรื่องอวตาร เข้าใจความหมายไหม? คุณเคยเห็นภาพพระมหาชนกในสมุดภาพไตรภูมิไหม? คุณเคยอ่านSIAM MAPPEDฯทั้งฉบับภาษาไทยและอังกฤษ ไหม? คำนำหนังสือเขียนราวปี2535 หนังสือผลิตออกมาปี2538 ประยุทธ์พูดแล้วเดินไปหยิบหนังสือให้อ.สศจ ดู

ผมเปิดหนังสืออ่านให้คุณฟังและคุณดูด้วยที่ว่า …ความเป็นไทยและภูมิปัญญาไทยจะอยู่ที่ชนบท“ความเป็นไทยกลายเป็นกระบวนทัศน์ของความคิดทางการเมืองที่ไม่มีใครกล้าละเมิด หากใครก็ตามกล่าวหาละเมิดพื้นฐานข้อนี้ เขาผู้นั้นจะสูญเสียความน่าเชื่อถือ และความชอบธรรม นี่คือยุทธศาสตร์ที่ฝ่ายขวาใช้เพื่อต่อต้านการเติบโตของขบวนการฝ่ายซ้ายในไทย ระหว่าง พ..2516-2519(ค..1973-1976) และเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้พคท.ล่มสลาย กล่าวคือ หลังจากนักศึกษาปัญญาชนที่เข้าร่วมกับพคท. หลัง ตุลาคม 2519 ได้ประสบกับตนเองว่าพคทได้ยึดเอาจีนเป็นแม่แบบของการปฎิวัติไทยอย่างหักปักหัวปำ และตกอยู่ภายใต้ของอิทธิพลพรรคคอมมิวนิสต์จีนโดยตรง พวกเขาก็ตาสว่างขึ้น สำหรับคนหนุ่มสาวเหล่านี้ ปัจจัยแปลกปลอมจากภายนอกดังกล่าว ทำให้ความชอบธรรมของ พคทและพลังของวาทกรรมว่าด้วยการต่อสู้ทางชนชั้น และสังคมไทยแทบจะไม่หลงเหลืออยู่เลย(and  the power of its discourse on class struggles and Thai society had  virtually disappeared…)

ประยุทธ์ปิดหนังสือ พูดต่อ
เรื่องราวในอดีตนศ.ชนชั้นกลาง ผมก็รู้ความฝันของพวกอยากปฏิวัติอย่างชนชั้นกลาง แต่ไทยแลนด์แดนคนตายไม่มีความยุติธรรมและการยอมรับผิดเหตุการณ์ 6ตุลาหรือชำระสะสางเหมือนเกาหลีใต้(*) ประเด็นการเปรียบเทียบในแง่ชาตินิยมทั่วโลก(หรือมรดกชาตินิยม**) กรณีเปรียบเทียบไทยกับเกาหลีใต้ ทั้งเรื่องความเป็นไทยของวัฒนธรรมชุมชนของชนบท เปรียบเทียบการสร้างมินจุง คือ ความเป็นชุมชนของเกาหลี และGramscian ในการต่อสู้ จากระบอบครอบงำสำนึก(hegemonic regimeหลังปี1990 กระบวนการโลกาภิวัตน์ได้ทำให้ขบวนการแรงงานกลายเป็นรูปแบบสากลของสหภาพฯ เคยผนึกกำลังสู้ทหารไปสู่เรื่องการกระจายทรัพยากร สิ่งแวดล้อม (ฯลฯ) รวมทั้งแนวเคลื่อนไหวทางสังคมใหม่(NSM) มาจากหลายปัจจัยในปัจจัยยุทธศาสตร์บริษัทใหม่ และไม่ได้ถูกปกครองจากทหารขาดศัตรูร่วม(ทหารอำนาจนิยมไปกับทุนนิยม) เป็นประชาธิปไตยยาวนานกว่าถูกเผด็จการทหารครอบงำพวกชนชั้นกลาง ความสลับซับซ้อนของมวลชนผมก็รู้ดี(ความคล้ายหรือความต่างของเกาหลีใต้ เช่น กวางจูไม่ใช่ที่โซล เหมือนเหตุที่กรุงเทพฯ)

ยกเว้นพวกคุณ รวมทั้งกลุ่มก๊วนนักวิชาเกิน อดทนอยู่กับเผด็จการทหารยาวนานได้ผมก็สำเร็จสมสุขอารมณ์

ประยุทธ์หยุดพูดนิดหน่อย หยิบกระดาษขึ้นมาหนึ่งแผ่น แล้วพูดนี่แหละเรื่องไทยศึกษาต้องรู้จักเปรียบเทียบรัฐไทยกับหลายประเทศ รวมทั้งวัฒนธรรม และชาตินิยมของไทยเองด้วย(***)
ผมไม่ได้คานธีจ๋า(****) ผมเริ่มจากการคิดว่า ศึกนี้ยาวนาน มันสู้กันยาว และเนื่องจากไม่จบระยะสั้น ผมไปอินเดียแหล่งพุทธศาสนามาแล้วด้วย ผมนี่อย่างกับซุนวู ขงเบ้ง และผมนี่เป็นร่างอวตาร….โว้ย!

นี่ คุณไปฟังเพลงRadiohead "How To Disappear""
“คัท” อ.สศจ. ไม่ต้องพูดแล้วผมเป็นพระเอก ขอพูดบ้าง คุณประยุทธ์พูดมั่วไปมั้งเย็นวันศุกร์ ไม่มีคนดูทีวี คุณสู้พลังโซเชียลฯไม่ได้หรอกมั้ง เห็นบ่นทางทีวี ประจำเลย นอกเรื่องไปเลยดีกว่า

คุณอ่านเรื่องนี้ยัง “ทักษิณ-ธัมมชโย”ยุทธศาสตร์ร่วม“รอเลือกตั้ง”
เวลานี้ “พระธัมมชโย” กับ “ทักษิณ” คงคิดเหมือนกันคือ “รอเวลาเลือกตั้ง” และเชื่อมั่นในความเป็น “เจ้าแห่งลัทธิการตลาด” ที่จะทำให้พรรคเพื่อไทย กวาดเก้าอี้ ส.ส.มาเป็นกอบเป็นกำ อาวุธที่มีพลานุภาพของ “คนแดนไกล” คือ สื่อโซเชียลออนไลน์ ไม่ต้องจัดประชุม ไม่ต้องจัดชุมนุม เพียงแต่ส่งผ่าน “ชุดความคิด” ไปทางเฟซบุ๊ก , ไลน์ และยูทูบ ก็ถึงทุกครัวเรือนรากหญ้า คนชนบทวันนี้ ทีวีดาวเทียมไม่มีความหมาย เพราะพวกเขามีสมาร์ทโฟน ที่รับ “สาร” จากเจ้าลัทธิได้ตลอดเวลา ถึง “ตู่” จะยึดทีวีทุกช่อง ส่งเสียงเจื้อยแจ้วทุกคืนวันศุกร์ก็ไม่มีผล เพราะพวกเขาปิดทีวี ไปอ่านเฟซบุ๊ก
สงครามมวลชนไปไกลมากแล้ว หาก “ตู่” ไม่ปรับยุทธศาสตร์ ก็มีโอกาสพ่ายแพ้แก่เจ้าแห่งลัทธิการตลาดในสมรภูมิเลือกตั้งอีกครั้ง(*****)

นางเอกเดินเข้ามาพูดบอกสังคมไทย จริงแล้วแตกแยก ต้องแยกแยะความจริง คนชอบนิยมทักษิณ ก็ไม่นิยมประยุทธ์หรอกอยู่แล้ว ไม่เกี่ยวกับโซเชียลฯ ไลน์ ฯลฯ เท่านั้น  ผู้กำกับบอก คุณเหมือนผมเลยไม่ค่อยชอบใช้โซเชียลฯ เหม่ นี่คนเขียนบทเริ่มแหวกแนว จะให้คุณไปกำเนิดลูกด้วย น่ะอิๆ มีเลิฟซีน เปลี่ยนบทไม่มีคิวบู๊แบบชีวิตนี้เพื่อชาติฯ มากหรอก ฮร่าๆ
นางเอกพูดไม่ตลก ลามกจกเปรต!

เฮ้ย พูดเล่นๆ บทหนังสั้นไม่ใช่ชิงสุกก่อนห่าม(******) อย่าคิดมากตีความไปไกล ดูบทอ่านบทก่อน นี่มันธรรมะ ไม่โหดด้วย บทไปสู่สันติธรรม

คุณแม่ของท่านเมื่อครั้งตั้งครรภ์ในขณะที่ครอบครัวพำนักอยู่ที่จังหวัดพิจิตร ได้ฝันว่า  หลวงพ่อเพชร ซึ่งเป็นพระพุทธรูปองค์ศักดิ์สิทธิ์ที่ชาวเมืองพิจิตรกราบไหว้บูชา ได้นำเด็กที่มีลักษณะสวยงามมามอบให้ พร้อมกับกล่าวว่า “เด็กคนนี้เป็นลูกแก้วมาเกิด ขอให้เลี้ยงดูให้ดี จะเป็นที่พึ่งได้ในกาลต่อไปภายหน้า”…. นี้เป็นแรงบันดาลใจจากพระธัมมชัยโย หรือวลีเด็ดคนเราเกิดมาทำไม ตายแล้วจะไปไหน
เมื่อผมก็ไม่รู้เหมือนกัน คนเขียนบททำเป็นจบแบบปริศนาธรรม หลุดพ้นกิเลสอิจฉาริษยา รัก โลภ โกรธ หลง

THE END
หนังสั้นเรื่องนี้อุทิศแด่ อ.Benedict anderson
*ความทรงจำกับประวัติศาสตร์บาดแผล : กรณีการปราบปรามนองเลือด 6 ตุลา 19”
แจกฟรีบทความเป็นPDFของอ.ธงชัย

**ภาพประกอบแผนที่ไตรภูมิธนบุรี มีภาพเกาหลี ญี่ปุ่นไปถึงทะเลอาหรับ เขตแดนอียิปต์ ฯลฯ ซึ่งมีตั้งแต่อยุธยาอย่างที่ผมเคยเล่าซ้ำแล้วอ.ธงชัย เคยเขียนเกี่ยวกับหนังสุริโยไท ประวัติศาสตร์แห่งชาติ ฉบับนางแก้ว

http://digi.library.tu.ac.th/journal/0098/22_12_cot_2544/12PAGE55_PAGE62.pdf
ภาพประกอบจากหนังสือNation Identityฯ ซึ่งหน้าปกเป็นอนุสาวรีย์ชัยฯ ผมเคยเขียนเปเปอร์เรื่องศิลปะที่นี่ได้ไปเสนอเกาหลีใต้ แต่ไม่มีตังค์(ตอนนั้นเคยคิดอยากนำประเด็นในหนังสือดังกล่าวเรื่องปัญญาชนของอ.เครกฯ มาขยายต่อพวกปัญญาชนก่อนและหลังป่าแตก ก็มีเทียนชัยหรือนามปากกายุคศรีอาริยะ)
(บทวิพากษ์ธรรมวิทยาแห่งพลเมืองของประกาศกร่วมสมัย :รายงานการวิจัย(บริบทและความขัดแย้งและวิกฤตกาลทางการเมืองที่สังคมไทยกำลังเผชิญและพยายามหาทางออก รายงานฉบับนี้มุ่งนำเสนอความคิดของปัญญาชนไทยสามคน คือ เกษียร เตชะพีระ ธงชัย วินิจจะกูล และสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล)
(ผมยังไม่ได้อ่าน แน่ละกรณีที่ผมบอกไว้ว่าการเขียนบทความเรื่องปัญหาปัญญาชนไทย ก็เป็นหัวข้อใหญ่กว้างมาก ขนาดแค่สามคนยังไม่ง่าย อาจจะเป็นวิทยานิพนธ์เฉพาะเจาะจงอย่างประเภทมีวิทยานิพนธ์อ.เสกสรรค์ฯ เป็นต้น หรืออาจจะต้องหาทางย่อๆ เช่น ปัญญาชนสยามอย่างส.ศิวรักษ์ ไม่ว่าการเคลื่อนไหวการเมืองก่อนกรณีปี34-35 รวมหลัง49 เครือข่าย ฯลฯ ครับ)

ภาพแผนที่เราสู้

***กรณีผมเขียนเรื่องชุมชนจินตกรรมฯ ผ่านชาตินิยมเปรียบเทียบไทยกับอียิปต์  ในแง่มรดกชาตินิยมฯลฯ

http://akkaphon.blogspot.com/2016/03/revolution.html

กรณีหน้าปกหนังสือชุมชนจินตกรรมฯ(ฉบับรูปธงชาติต่างๆ) ถูกแปลในอียิปต์ ฯลฯ โดยการเปรียบเทียบ2475กับอียิปต์ โดยหนังสือชุมชนจินตกรรมฯ /IC ได้อธิบายเรื่องมรดกรัฐเก่าไว้ โดยการอธิบายเพิ่มเติม คือ
ธงชัย วินิจจะกูลมรดกสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบัน

http://prachatai.com/journal/2011/05/34433


ดูภาพบทความStudies of the Thai Stateฯ(อ.เบน เคยให้สัมภาษณ์ประเด็นเกี่ยวกับงานชิ้นนี้ในฟ้าเดียวกันน่าสนใจมีผลงานเขียนของผมรวมอยู่ในเล่มนี้ด้วย) และภาพของผม ณ เกาหลีใต้ ครับ

http://www.sameskybooks.net/journal-store/02-3/

(งานสถาปัตยกรรมช่างฝีมือชาวจีนอพยพกับอุตสาหกรรมในยุคร.5 เปรียบเทียบกับงานช่างฝีมืออย่างช่างก่อสร้างในศต.ที่19 อีพีทอมสัน)

 

**** http://prachatai.com/journal/2016/05/65935

 

******หนังสือการปฏิวัติสยาม”  ไม่เพียงแต่ก้าวข้ามความคิด “ชิงสุกก่อนห่าม” เท่านั้น งานชิ้นนี้ยังอธิบายให้เห็นถึง “ความจำเป็นทางประวัติศาสตร์” ที่จะต้องเกิดการเปลี่ยนแปลงด้วยเหตุปัจจัยแวดล้อมในมิติต่างๆ
ชิงสุกก่อนห่าม สํานวนสุภาษิตนี้ หมายถึงการกระทำที่ชายหญิง ซึ่งยังไม่มีความพร้อม มีความสัมพันธ์กันลึกซึ้งก่อนวัยอันควร สำนวนนี้บางครั้งหมายความถึงการกระทำใดๆ ก่อนเวลาอันควร ไม่ได้เฉพาะเจาะจงเรื่องความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง

ที่มาของสํานวน เปรียบเปรยถึง การกินกล้วยที่มันสุกทันทีไม่มีห่าม ซึ่งที่จริงผลกล้วยจะกินได้ต้องห่ามก่อน เปรียบให้เห็นว่าเป็นการลัดขั้นตอน ไม่รอในสิ่งที่สมควรแก่เวลา

ชิงสุกก่อนห่าม(สําทำสิ่งที่ยังไม่สมควรแก่วัยหรือยังไม่ถึงเวลา (มักหมายถึงการลักลอบได้เสียกันก่อนแต่งงานใช้เป็นคำสอนหรือเตือนสติว่า อย่าชิงสุกก่อนห่าม.

(ผมเขียนเรื่องบทหนังสั้นต่อเนื่องกัน ครับ)

https://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1327314513964440&id=100000577118415



27 มิถุนา
27.1
27มิถุนา ในอดีตเกิดอะไรหลายอย่างในโลก ผมอยากเล่าอดีตมาสู่ปัจจุบัน(ยุคโลกาภิวัตน์) กรณีประชามติ Brexit อังกฤษออกจากอียู เปรียบเทียบกับไทย ในแง่มุมชาตินิยม(ดังที่มีกระแสคนวิเคราะห์ทางเศรษฐกิจ ฯลฯมาแล้ว) ข้อสังเกตเล็กๆ โดยเล่าย่อๆแนวการวิเคราะห์ทางความรู้ มีมรดกตกทอดของอดีต ที่มีการถกเถียงของฝ่ายซ้ายใหม่ในอังกฤษ ที่เกิดการก่อตั้งรวมตัวทำNew left review(*ก่อเกิดวัฒนธรรมศึกษาสำนักBirmingham ) ทั้งอธิบายจุดกำเนิดวิกฤติของอังกฤษ ในทั้งด้านทางเศรษฐกิจ และคนงานของอังกฤษ(**อีพีทอมสัน กล่าวถึงซ้ายใหม่ใน1956/2499) ข้อสังเกตของผม ที่เกี่ยวกับคนงานชาตินิยมของอังกฤษ นำไปสู่อิทธิพลการศึกษาชาตินิยมของTom narin มาเป็นมรดกให้อ.เบน หนังสือชุมชนจินตกรรมฯ(ดูอธิบายถึงTom narin) มาก่อนเป็นมรดกให้อ.ธงชัย(2538) นี่เป็นสิ่งที่ผมคิดการเปรียบเทียบอังกฤษ กับไทย ที่น่าสนใจในคำนำหนังสือSiam Mappedฯ คือ ในทศวรรรษสุดท้ายของศตวรรษที่ 20 โลกกำลังเคลื่อนไปข้างหน้าสู่ประชาคมชนิดใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้วยแรงผลักของประชาคมยุโรป บรรษัทนานาชาติมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ไม่ใช่รัฐบาลใดเพียงแห่งเดียว ตลาดและการผลิตผูกโยงกันทั้งโลก ระบบการเงินและการไหลเวียนของข่าวสารและทุนไม่สนใจเส้นเขตแดน เอเชียโลกแปซิฟิค และอเมริกากำลังพยายามไล่ให้ทันยุโรป โลกของเราดูท่าทางกำลังตระเตรียมจะข้ามให้พ้นมรดกของยุโรปศตวรรษที่ 19(***)
นี่แหละ ประเด็นทางเศรษฐกิจ การเมือง ระบบทุนนิยมยังเป็นเรื่องดีเบต ต่ออังกฤษ(****) และเรามาถึงจุดที่เวลาทางประวัติศาสตร์อย่างการอธิบายเรื่องการเลือกตั้งที่ผ่านมาของอังกฤษ ที่มีพรรค The UK Independence Party(UKIP)  ซึ่งพรรคเป็นแนวร่วมข้ามชนชั้น advocateออกจากอียู(*****)นี่เป็นประเด็นที่พรรคอนุรักษ์นิยมอย่างเดวิด คาเมรอน ก็หาเสียงเลือกตั้งไว้ด้วย

ดังนั้น ปัจจัยภายในการเมืองของอังกฤษดังกล่าว มีรายละเอียดของพรรคอนุรักษ์นิยม (พรรคแรงงาน พรรคUKIPทางเลือกที่3)โดยกล่าวย่อๆแล้ว ซึ่งผลกระทบของการออกจากอียูทั้งทางเศรษฐกิจค่าเงิน(ถ้าไทยปี2540ถูกโจมตีค่าเงิน ทำให้เกิดกระแสชาตินิยมทางเศรษฐกิจ) ก็มีการอธิบายมาแล้ว ส่วนตัวผมสนใจเล่าเกร็ดเล็กเกร็ดน้อยเปรียบเทียบกับไทยได้น่าสนใจยิ่งจากแรงบันดาลใจส่วนหนึ่งของภาพรวมแผนที่ของอังกฤษในเรื่องประชามติออกจากอียู(******)เราได้บทเรียนหลุดพ้นมรดกชาตินิยมหรือไม่ ครับ

(ดูเพิ่มเติมประวัติStuart_Hall_)
(ถ้าผมเขียนจะยาว เป็นเรื่องยากจะเข้าใจไอเดียง่ายๆ ที่ผมยกตัวอย่างดูเชิงอรรถ ในบทความนี้ ก็มีบริบทยาวๆ เช่น เชิงอรรถที่1. Perry Anderson, Origins of the Present Crisis, New Left Review, 23 (hereafter Origins); Tom Nairn, The English Working Class, NLR, 24; The British Political Elite, NLR, 23; The Anatomy of the Labour Party – 1, NLR, 27, and The Anatomy of the Labour Party – 2, NLR, 28 (hereafter Nairn 1 and 2) หรือเชิงอรรถที่16.เกี่ยวกับThe Transition from Feudalism to Capitalism (1954).)

***ดูคำนำในเว็บซีเอ็ดและพัฒนาการความคิดของการวิเคราะห์ รวมทั้งอธิบายเรื่องนี้มีที่มาจากบทหนังสั้นปัญญาชนอิมเมจิ้นhttps://www.facebook.com/permalink.php?story_fbid=1332728790089679&id=100000577118415
ปัญหาปัญญาชนไทยกับลาว ก่อนและหลังป่าแตก-57

(ผมเคยกล่าวถึงwoodแล้วด้วยครับ)
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมวิกิพีเดีย The UK Independence Party )
****** http://www.telegraph.co.uk/news/2016/06/23/leave-or-remain-eu-referendum-results-and-live-maps/
หลังผล Brexit-สกอตแลนด์ ไอร์แลนด์เหนือเสนอประชามติแยกจากสหราชอาณาจักร
ประชามติ Brexit ไม่กระทบเอฟทีเอไทย-อียู เพราะอียูหยุดเจรจากับไทยนานแล้ว