วันจันทร์ที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2560

การสะสมความทรงจำ ผู้นำ อำนาจสตรีสากล และการสะสมยุทธศาสตร์

2 มีนา
“การสะสมความทรงจำ ผู้นำ”
เมื่อผู้เขียนกลับมาทบทวนความทรงจำ ที่เคยเก็บสะสมความทรงจำไว้ โดยการสะสมน้ำกลายเป็นบึงได้ อุปมาคนเป็นผู้นำ สะสมความทรงจำบทเรียนไม่ดี เหล่าผู้นำในอดีต เช่น พระพุทธอิสระ(*)เป็นต้น พระเคยปลุกมวลชนถล่มเมืองกรุงเทพฯ
ผู้นำของพระสงฆ์อย่างพระธัมมชโย ถ้าเปรียบเปรยการถูกโค่นล้มอย่างทักษิณ(**) ต้องทำลายเครือข่ายธรรมกายอย่างมหาศาลด้วย แน่ละกรณีมีรายละเอียดเชิงข้อเท็จจริงให้สะสมความทรงจำ(***)ไว้ในสังคมไทย
*พุทธะอิสระ โพสต์แรง เทียบ ธัมมชโย กับกบฎผีบุญ
http://www.matichon.co.th/news/475986
“อุดมการณ์และวัฒนธรรมพุทธไทย” กรณีครูบาศรีวิชัยกับพระธัมมชโย

**2 มีนา 2016(ภาพและรูปประกอบใหม่)
***การสะสมความทรงจำ(จบ)
ส.บุญมี(1)
ผมไปลำพูน อยู่สามวัน ที่งานศพบ้านส.บุญมี หรือสิงห์ชัย ธรรมพิงค์ เสียชีวิตจากโรคมะเร็ง เป็นประธานนกน.(*) ที่มีสมาชิกนกน.มากกว่าสองหมื่นคนข้อมูลจากหนังสือการเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตยไทย
(**) ผมได้ถ่ายทำสารคดีเก็บไว้ งานทำบุญขึ้นเรือนใหม่ “เรือนครูองุ่น มาลิก : หอประวัติศาสตร์ประชาชนภาคเหนือ” ณ สวนอัญญา ถ.ห้วยแก้ว ซ.1 (***) เมื่อวันที่ 3 ธันวา 59 ด้วย
*ประธานกลุ่มแนวร่วมเกษตรกรภาคเหนือ.(ส.ย่อจากสหาย นามจัดตั้งบุญมี ทำให้คิดถึงหนังเรื่องลุงบุญมีระลึกชาติ)
ภาพประกอบจากหนังสือย้ำยุค รุกสมัย : เฉลิมฉลอง 40 ปี 14 ตุลา
**ผมเคยเขียนทบทวนขบวนการเคลื่อนไหวฯไว้ ในNSM :New Social Movement and OSM of nation.
http://akkaphon.blogspot.com/2015/06/nsm-new-social-movement-and-osm-of.html
***ข้อมูลสวนอัญญา – เฮือนครูองุ่น มาลิก : หอประวัติศาสตร์ประชาชนภาคเหนือในเฟซฯสหายส.บุญมี

อรรคพล สาตุ้ม ใช่ ลุงใจ จริงๆรู้จักกันมานาน หลายเรื่องความทรงจำผมก็หลงๆลืมๆไปบ้างอย่างข้อมูลนกน.ก็มาแก้ไขสมาชิกมากกว่าสองหมื่นคน มีรายละเอียดอีก เช่น นกน.มีอยู่สี่จังหวัด เชียงราย ลำพูน ลำปาง เชียงใหม่และเรื่องลุงใจ กรณีติดตามการเมืองอย่างเหตุการณ์ปี53 เป็นต้น
10.3
ส.บุญมี(จบ)
ผมไม่ได้หนังสืองานศพ ที่มีอยู่สามเล่ม ในงาน เพราะหนังสือหมดก่อน ได้มาครอบครองและสะสมไว้ ความทรงจำของผมต่อส.บุญมี ยกตัวอย่างจากสิบปีก่อนมาถึงเหตุการณ์สำคัญอย่างประชามติที่ผ่านมาปีที่แล้วผมต้องยกกล่องเอกสารที่ผมเคยโพสต์ภาพ เอกสารโหวตโน ตอนนั้นก็มีส.บุญมีเห็นด้วย
นี่เป็นภาพที่ผมถ่ายกับอ.ชินอิชิ(*) ที่เป็นผู้สัมภาษณ์ส.บุญมี ร่วมกับอ.อรรถจักร์ แน่ละผมก็ต้องพบปะผู้คนมากถ่ายภาพมาเผยแพร่บางส่วน อีกส่วนคลิปก็ยังไม่ได้เผยแพร่ด้วย
*ประวัติอ.ชินอิชิ ผมเคยเขียนไว้แล้วค้นดูได้
12.2
“การสะสมความทรงจำ อำนาจของสตรีแรงงานสากล”
วันที่12มีนา(วันสำคัญเสียชีวิตซุนยัดเซ็น นักปฏิวัติชาย มีนักปฏิวัติที่เป็นผู้หญิง?) เปรียบเทียบ8 มีนา พ.ศ. 2454 (ค.ศ. 1911) – มีการเฉลิมฉลองวันสตรีสากลขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นวันสตรีสากล (อังกฤษ: International Women’s Day) เดิมเรียก วันสตรีแรงงานสากล (อังกฤษ: International Working Women’s Day) มีการเฉลิมฉลองในวันที่ 8 มีนาคมของทุกปีในแต่ละภูมิภาคความสนใจของการเฉลิมฉลองมีตั้งแต่การเฉลิมฉลองความนับถือ ความซาบซึ้งและความรักต่อหญิงสำหรับความสำเร็จทางเศรษฐกิจ การเมืองและสังคมของหญิงทั่วไป
โดยผมเขียนถึงwood ผู้เขียนเรื่องแรงงานเป็นนักวิชาการสตรี ที่เสียชีวิตปีที่แล้ว(*) ผู้เขียนถึงความสัมพันธ์ หมายถึงความสัมพันธ์ของการขูดรีด ความขัดแย้ง และการต่อสู้เป็นตัวสร้างแรงกระตุ้นให้กับกระบวนการของการก่อตัวทางชนชั้น(**)ส่วนตัวผมตั้งข้อสังเกต ต่อ Labouring multitudeหรือเราสามารถเข้าถึงผลอุดมการณ์ของความสัมพันธ์สมัยใหม่ ระหว่างปัจเจกพลเมืองและ ชุมชมพลเมือง หรือชาติ ออกจากconsidering the degree to which that ‘imagined community’ is a fiction,a mythical abstraction(นามธรรม), ในความขัดแย้งกับประสบการณ์ของชีวิตประจำวันของพลเมือง
ดังนั้น เราอยู่กับชุมชนจินตกรรมฯ ในสังคมชาติไทย อดีตสตรีช้างเท้าหลังอุปมาเปลี่ยนไป โดยการสะสมทรงจำ(***)ข้อสังเกตก็น่าสนใจอย่างผู้นำทางการเกษตรเป็นผู้ชาย(****) แน่ละการทบทวนประวัติศาสตร์เปรียบเทียบเป็นเรื่องน่าสนใจ(*****)เช่น กำเนิดทุนนิยม กำเนิดชาตินิยม ในชาตินี้
* บทสนทนาผ่านอาหารหลายชาติ

Ellen Meiksins Wood มีหนังสือดังๆ ยกตัวอย่างDemocracy Against Capitalism: Renewing Historical Materialism(อ้างชุมชนจินตกรรมฯของอ.เบน) และอ.สศจ.เคยแนะนำหนังสือ The Origin of Capitalism: A Longer View (กำเนิดของทุนนิยมฯ) การต่อเนื่องจากดีเบตที่มืชื่อเสียงระหว่าง Dobbs กับ Sweezy (ที่ “ทรงชัย ณ ยะลา” เคยเอามาอ้าง…)โดยที่มี Robert Brenner เข้าร่วมการดีเบตด้วยในช่วงหลัง (บทความ Brenner, “The Origins of Capitalist Development: A Critrique of Neo-Smithian Marxism”… ชื่อบทความเปรียบเทียบกับชื่อหนังสือของ Wood) งานของ Wood วางอยู่บนฐานงานของ Brenner ซึ่งวางอยู่บนฐานอัลตูแซร์อีก..
ดูเพิ่มเติมThe Origin of Capitalism: A Longer View(ฉบับอ่านฟรีพีดีเอฟ)
https://cominsitu.files.wordpress.com/2016/01/ellen-meiksins-wood-the-origin-of-capital-a-longer-view.pdf
ดูประวัติWood เพิ่มเติม
https://en.wikipedia.org/wiki/Ellen_Meiksins_Wood
The Strike at York University(การนัดหยุดงาน ที่มหาวิทยาลัยYork)
A sign of the times ดูบทความIn memory of Ellen Meiksins Wood
https://canadiandimension.com/articles/view/the-strike-at-york-university
(ภาพประกอบจากยูทูป)
** Andrew brown ได้เคยเขียนบทความเกี่ยวกับแรงงานไทยอิงบริบทประวัติศาสตร์ถึงพฤษภา35 ในชื่อบทความว่า “Locating working class”(การกำหนดพื้นที่อำนาจของชนชั้นแรงงาน)โดยชี้ให้เห็นว่าความสำคัญของชนชั้นและการต่อสู้ทางชนชั้น อยู่กับความสัมพันธ์ ซึ่งอ้างงานของEllen Meiksins Wood กับหนังสือDemocracy against capitalismฯ(อ้างงานของE.P.Thompsonใน The Making of the English Working Class) ฉบับอ่านฟรี
https://cominsitu.files.wordpress.com/2016/01/ellen-meiksins-wood-democracy-against-capitalism-renewing-historical-materialism-1995.pdf
ดูประวัติผลงานของbrown เพิ่มเติม
https://www.une.edu.au/staff-profiles/humanities/abrown2
***การสะสมความทรงจำ ผู้นำ

ประเด็นเรื่อง “แผน”และ “แผนที่ความทรงจำ”

****ส.บุญมี(บทสนทนากับรุ่นพี่คนหนึ่งในงานศพและเกร็ดสนทนาอื่นๆ ที่น่าสนใจมีโอกาสจะเล่าในครั้งต่อไป)

*****เสวนา : “ประวัติศาสตร์วันสตรีสากล และการต่อสู้ของผู้ใช้แรงงานทั่วโลก”
http://prachatai.com/journal/2008/03/15996
(ผมไปงานสตรีสากล ขณะนั่งอยู่ที่หน้าศาลากลางมีคนอยู่ห้าคนทหาร ฝ่ายความมั่นคงฯลฯถ่ายรูปกันใหญ่ และเล่าให้บางคนฟังหัวเราะคุณเป็นผู้ชายส่งเสริมสิทธิสตรี)
12.3
“พระธัมมชโย เปรียบเทียบวัดอุโมงค์ หลวงพ่อปัญญากับหลวงพ่อพุทธทาส มุมมองกรณีแรงงานนอกระบบพ่อค้าผลไม้ฆ่าตัวตาย และมวลชน”
ผมเคยเขียนเรื่องพระธัมมชัยโย และธรรมกายมาบางส่วนแล้ว(*) ซึ่งผมมีเรื่องรายละเอียดอยากจะเล่าย่อๆในแง่ประสบการณ์ส่วนตัว กรณีผมเคยประกวดแข่งขันธรรมะได้รางวัลระดับภูมิภาคของธรรมกาย ในสมัยมัธยม ก็จะไปรับรางวัลหน้าเสาธง โรงเรียน(ใบประกาศนียบัตรยังมีเก็บไว้ไม่มีภาพเผยแพร่) ซึ่งผมได้ข่าวว่าญาติของผม ก็อยู่ในธรรมกายขณะนี้ โดยความสัมพันธ์ที่ญาติผมรู้เรื่องนี้ มักได้รับการถ่ายทอดเรื่องวงในพอสมควรเป็นข้อมูลด้วย
อย่างไรก็ดี สำนักธรรมกายพัวพันกับวิทยาลัยสงฆ์ ฯลฯ กรณีการเปรียบเทียบธรรมกายกับหลวงพ่อพุทธทาสเร็วๆ นี้มีงานเขียนอ.นิธิ ได้เขียนถึงผมจับประเด็นเรื่องวัตรปฏิบัติและแนวทางคำสอนของท่านพุทธทาสในระยะแรก (2475-ประมาณ 2506) ชวนให้เป็นที่ระแวงสงสัยของรัฐ(**) เป็นต้น นี่ผมมาเขียนเพิ่มเติมกรณีหลวงพ่อปัญญากับหลวงพ่อพุทธทาส ณ วัดอุโมงค์ จ.เชียงใหม่ ความสัมพันธ์อันน่าสนใจลองค้นหาประวัติหลวงพ่อปัญญากับปรีดี พนมยงค์ หรือลองอ่านบทสัมภาษณ์ของผม เกี่ยวกับหลวงพ่อปัญญา(***)ตอนที่ทำงานโครงการย้อนรอยอดีตจิตรกรรมฯ(ภาพประกอบจากเว็บโครงการดังกล่าว)
ฉะนั้น ผมเล่าเรื่องสั้นชุมชนจินตกรรมฯ ในแง่ศาสนา การเมืองวัฒนธรรม ผ่านประสบการณ์การรับรู้ความแตกต่างมีพัฒนาการความนิยมของชนชั้นกลางในเมือง หรือการสะสมมวลชน ก็มาสนใจผู้นำพระอย่างวัดอุโมงค์ เปรียบเทียบกับธรรมกาย โดยมวลชนอย่างที่เป็นข่าวพ่อค้าผลไม้ ในการนิยามแรงงานนอกระบบเป็นพ่อค้า(****)ด้วย
*การสะสมความทรงจำ ผู้นำ

**นิธิ เอียวศรีวงศ์ : วัตรวิถีนอกรัฐ (1)
https://www.matichonweekly.com/column/article_27673
***ผมเคยเจอตัวจริงของหลวงพ่อปัญญา(กรณีเฉพาะพื้นที่วัดอุโมงค์ยังเกี่ยวพันเจ้าชื่น และกรณีการก่อตัว14ตุลาอีกด้วยเล่าแล้วยาว)
****การเขียนเรื่องธรรมกาย มีเขียนกันเยอะ แต่ในแง่นิยามแรงงานนอกระบบ เช่น พ่อค้าผลไม้ที่ฆ่าตัวตาย หรือกรณีผู้ช่วยเภสัชกรของวัดพระธรรมกาย เสียชีวิตด้วยโรคหอบหืดกำเริบ
16 มีนา
วันนี้ผมแวะมาปฏิบัติหน้าที่อัพเพจเครือข่ายฯย้อนรอยอดีตทบทวนประวัติศาสตร์ “เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ”
ภาพข้อมูลปี2547ในหนังสือการเมืองภาคประชาชนในระบอบประชาธิปไตยไทยและภาพจากโครงการศึกษาอำนาจการต่อรองภาคประชาชนเพื่อความเป็นธรรมในการกระจายรายได้
16.2
จำนวนแรงงานข้าราชการลดน้อยลง อาจารย์มหาลัยเป็นพนักงานจากแนวคิดเสรีนิยมใหม่โดยสาระวิชาการ:ดาวน์โหลดเอกสารแจกฟรีรายงานผลการศึกษา
(ฉบับย่อ)
โครงการวิจัยเรื่อง “ความไม่เป็นธรรมด้านเศรษฐกิจและแรงงาน:
ปัญหาและข้อเสนอเชิงนโยบาย”
เรื่อง ปัญหาและอุปสรรคในการสร้างความเข้มแข็ง
และเอกภาพของขบวนการแรงงานไทย
20 มีนา
“การสะสมความทรงจำ และการสะสมยุทธศาสตร์”
วันนี้20มีนา เป็นวันชาติตูนีเซีย(*) ผมเล่าเรื่องสั้นๆ กรณีเหตุการณ์สำคัญของชาติ ที่คนเล็กคนน้อยเป็นแรงงานนอกระบบ ได้รับความสำคัญในชาติ สะท้อนในแสตมป์ตูนิเซีย ซึ่งจัดพิมพ์ขึ้นเพื่อสดุดีวีรกรรมของ บูอาซีซี โดยหนังสือพิมพ์ เดอะ ไทม์ส ในอังกฤษยกย่อง โมฮาเหม็ด บูอาซีซี พ่อค้าผลไม้ชาวตูนิเซีย เป็นบุคคลแห่งปี 2011 หลังจากที่เขาเป็นผู้จุดกระแสปฏิวัติประชาธิปไตยในอาหรับโดยไม่รู้ตัว
พ่อค้าวัย 26 ปี ซึ่งมาจากครอบครัวยากจนผู้นี้ จุดไฟเผาตัวเองในเมือง ซิดี บูซิด เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม ปี 2010 เพื่อประท้วงการกดขี่ข่มเหงของเจ้าหน้าที่บ้านเมือง เขาเสียชีวิตจากบาดแผลไฟไหม้ในช่วงต้นเดือนมกราคมที่ผ่านมา
การตายของ บูอาซีซี กระตุ้นให้ชาวตูนิเซียลุกฮือขึ้นประท้วงทางการ จนในที่สุดก็สามารถโค่นล้มรัฐบาลประธานาธิบดี ซิเน เอล อาบิดีน เบน อาลี ลงได้ ทั้งยังจุดกระแสปฏิวัติให้ลุกลามไปทั่วโลกอาหรับ นำมาซึ่งการล่มสลายของรัฐบาลประธานาธิบดี ฮอสนี มูบารัค แห่งอียิปต์ รวมถึงระบอบเผด็จการของพันเอก มูอัมมาร์ กัดดาฟี แห่งลิเบีย
“ความปรารถนาจะเข้าใจที่มาของระบอบกดขี่ ทำให้ บูอาซีซี เป็นหนึ่งในบรรดาผู้ที่ถูกยกอยู่เหนือการงานอันหนักหน่วง และการกดขี่ข่มเหงที่เกิดขึ้นทุกเมื่อเชื่อวัน” บทบรรณาธิการของ เดอะ ไทม์ส ระบุ
“ชีวิตที่แสนสั้นและการตายอย่างทุกข์ทรมานของเขา เป็นดั่งเสียงแตรประโคมให้โลกรู้ถึงชีวิตของสามัญชนคนหนึ่ง”…(**) นี่เป็นบทบันทึกสะสมความทรงจำ(***) ต่อเนื่องของผม โดยเปรียบเทียบกับไทย ที่เคยเขียนไว้บ้างแล้วในแง่ผู้กระทำการหรือผู้นำ(****)
โดยสรุป กรณีตัวอย่างดังกล่าวเป็นModel สำหรับข้อเสนอสะสมยุทธศาสตร์(*****) โดยเรา คือ ประชาชน เป็นคนละแบบกับคสช.เสนอยุทธศาสตร์ชาติด้วย
*March 20: Independence Day
https://en.wikipedia.org/wiki/Public_holidays_in_Tunisia
**“เดอะไทม์ส” ยกย่อง “พ่อค้าผลไม้ตูนิเซีย” ต้นตอปฏิวัติอาหรับเป็นบุคคลแห่งปี 2011
http://www.manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9540000165840
***2 มีนา วันสำคัญทางการเมืองไทยในอดีต ที่ผมเคยเขียนเปรียบเทียบอาหรับสปริง

ดูเพิ่มเติมการเขียนเปรียบเทียบต่อเนื่องของผม ยกตัวอย่างย่อๆ ตามลิ๊งค์ได้
“พระธัมมชโย เปรียบเทียบวัดอุโมงค์ หลวงพ่อปัญญากับหลวงพ่อพุทธทาส มุมมองกรณีแรงงานนอกระบบพ่อค้าผลไม้ฆ่าตัวตาย และมวลชน”
“การสะสมความทรงจำ อำนาจของสตรีแรงงานสากล”

“เครือข่ายแรงงานภาคเหนือ”
****กรณีเปรียบเทียบกับทักษิณ ในปัญหาเรื่องStuctureกับagency ซึ่งผมเคยอ้างบทความนี้(ลองย้อนดูลิ๊งค์ของผมได้) แล้วอ่านดาวน์โหลดฟรี
http://www.library.polsci.chula.ac.th/dl/6ccf1fa20728a59eaf718dd93aaea865
*****สะสมยุทธศาสตร์ฯนี้ไอเดียส่วนใหญ่ได้ดัดแปลงมาจากประเด็นการสะสมความทรงจำ ในหนังสือชุมชนจินตกรรม: บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของชาตินิยม ที่ผู้เขียนได้เคยกล่าวไว้ ทั้งงานเขียนของ David Harvey:The Condition of Postmodernity: An Enquiry into the Origins of Cultural Change และ Bob Jessop :Accumulation Strategies, State Forms, and Hegemonic Projects.
ดูการเขียนถึงBob Jessop ในภาษาไทย
http://documentslide.com/documents/kengkit-comment-by-somsak-jeamteerasakul.html
(ดูเพิ่มเติมค้นหาคลิป :จากพฤษภาประชาธรรมถึงรัฐประหารฯที่วิเคราะห์งานเก่งกิจ โดยอ้างอ.ไชยันต์ รัชชกูลด้วย)
ผู้สนใจอ่านเพิ่มเติมงานแนวทฤษฎี และอื่นๆ โดยBob Jessop ดูได้ที่เว็บลิ๊งค์
https://www.academia.edu/30101568/On_the_originality_legacy_and_actuality_of_Nicos_Poulantzas
(ภาพประกอบเส้นทางการเดินทาง อุปมาโรดแมป)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น